Enter your keyword

Our Teacher

รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด

รองศาสตราจารย์

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 63 หมู่ที่ 7 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง 16
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120
โทรศัพท์ 02-6495000 # 22086, อีเมล์ : panuwatj@g.swu.ac.th

1.1 ประวัติ

ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา เกียรตินิยมอันดับ 1 จากมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี พ.ศ.2546 หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ Asian Institute of Technology (AIT) ในสาขาวิศวกรรมโครงสร้าง เมื่อจบการศึกษาเมื่อปี พ.ศ.2548 ได้เข้าทำงานในตำแหน่งวิศวกรออกแบบสะพานที่ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด ซึ่งได้มีผลงานออกแบบสะพานซึ่งเป็นที่ประจักษ์มากมาย ต่อมาได้รับทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และศึกษาระดับปริญญาเอกที่สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งมีงานวิจัยมุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมของโครงสร้างภายใต้การสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว โดยในปี พ.ศ.2553 ได้ไปศึกษาแลกเปลี่ยนที่ University of Canterbury ประเทศนิวซีแลนด์ เมื่อจบการศึกษาในปี พ.ศ.2555 ได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ต่อมาได้ย้ายเข้ามาทำงานที่ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจนถึงปัจจุบัน ส่วนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมทางวิศวกรรมระดับสามัญวิศวกรโยธา และยังเป็นผู้ชำนาญการในการสอบสัมภาษณ์เพื่อเลื่อนระดับภาคีวิศวกรเป็นสามัญวิศวกร ของสภาวิศวกร


1.2 การศึกษา

  • Doctor of Philosophy in Engineering (International Program), Sirindhorn International Institute of Technology, Thammasat University, พ.ศ.2555
  • Visiting researcher, University of Canterbury, New Zealand, พ.ศ.2553
  • Master of Engineering (Structural Engineering), Asian Institute of Technology, พ.ศ.2548
  • ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) เกียรตินิยม อันดับ 1, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พ.ศ.2546

 

1.3 หัวข้อวิจัยที่ใช้จบการศึกษา

  • ระดับปริญญาตรี : การศึกษาหลักการทำงานของสเตรนเกจและการ์ดปรับภาวะสัญญาณจาก-สเตรนเกจ คณะกรรมการประกอบด้วย  ผศ.สรัณกร เหมะวิบูลย์ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์) และ อ.แสงชัย มังกรทอง (กรรมการ)
  • ระดับปริญญาโท : Development of Ferrocement Armored Panels คณะกรรมการประกอบด้วย รศ.ดร.พิชัย นิมิตยงสกุล (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์), น.ต.ดร.ธนากร พีระพันธุ์ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ร่วม) และ รศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย (กรรมการ)
  • ระดับปริญญาเอก : Cyclic Performance of Subassemblage Beam-Column Joint with Column Fixed at Base โดยมีคณะกรรมการประกอบด้วย รศ.ดร.อมร พิมานมาศ (ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์), รศ. ดร.วิญญู รัตนปิติกรณ์ (กรรมการ), รศ.ดร.วิโรจน์ บุญญภิญโญ (กรรมการ), ผศ.ดร.มงกุฎ เพียรธนะกูลชัย (กรรมการ), และ ผศ.ดร.อาณัติ เรืองรัศมี (กรรมการ)


1.4 ตำแหน่งทางวิชาการ

  1. รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2564-ปัจจุบัน
  2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2564
  3. อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2557-2558
  4. อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, พ.ศ.2553-2556


1.5 วิชาที่สอน

ระดับปริญญาตรี

  1. วย.221 กลศาสตร์วิศวกรรมสำหรับวิศวกรโยธา 1 (CE 221 Engineering Mechanics for Civil Engineers 1), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2555.
  2. วย.308 เทคโนโลยีคอนกรีต (CE 308 Concrete Technology), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2556.
  3. วย.304 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CE 304 Reinforced Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2553-2556.
  4. วย.411 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (CE 411 Prestressed Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, พ.ศ.ปีการศึกษา 2555.
  5. วย.112 แนะนำสู่วิศวกรรมโยธา (CE 112 Introduction to Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2554.
  6. คณ.207 คณิตศาสตร์วิศวกรรมประยุกต์ (MA 207 Applied Engineering Mathematics), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2555-2556.
  7. วศย.427 วิศวกรรมแผ่นดินไหวเบื้องต้น (CVE 427 Introduction to Earthquake Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557.
  8. วศย.422 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (CVE422 Prestressed Concrete Design), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2556-2557 และ 2560-ปัจจุบัน.
  9. วศย.215 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (CVE 215 Structural Analysis 1), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2558.
  10. วศย.316 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 (CVE316 Structural Analysis 2), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2556 และ 2559.
  11. วศย.251 คอนกรีตเทคโนโลยี (CVE251 Concrete Technology), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557-ปัจจุบัน.
  12. วศย.408 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมโยธา/สิ่งแวดล้อม (CVE 408 Computer Applications for Civil Engineering/Environmental), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557, 2562-2563.
  13. วศย.321 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CVE 321 Reinforced Concrete Design), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557-ปัจจุบัน.
  14. วศย.212 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรโยธา (CVE212 Advanced Mathematics for Civil Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2557.
  15. วศย. 252 วัสดุวิศวกรรมโยธาและการทดสอบ (CVE252 Civil Engineering Materials and Testing), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2559-ปัจจุบัน.
  16. วศย.334 วิศวกรรมฐานราก (CVE334 Foundation Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2553, ปีการศึกษา 2559.
  17. ทย.201 วัสดุวิศวกรรมโยธา (CET201 Civil Engineering Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2560-2561.
  18. ทย.350 การบำรุงรักษางานระบบภายในอาคาร (CET350 Civil Engineering Materials Maintenance of Facility Systems in Building), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2560.
  19. ทย.101 สถิตยศาสตร์และกลศาสตร์วัสดุ (CET 101 Statics and Mechanic of Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  20. ทย.205 เทคโนโลยีคอนกรีตและการประยุกต์ใช้ (CET205 Concrete Technology and Applications), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-2562.
  21. ทย.304 การออกแบบโครงสร้างชั่วคราว (CET304 Design of Temporary Structures), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  22. ทย.305 ปฏิบัติการออกแบบโครงสร้างชั่วคราว (CET305 Design of Temporary Structures Laboratory), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  23. ทย.300 เทคโนโลยีการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กและการประยุกต์ใช้ (CET300 Reinforced Concrete Design Technology and Applications), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-ปัจจุบัน.
  24. ทย.302 ปฏิบัติการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กและการประยุกต์ใช้ (CET302 Reinforced Concrete Design and Applications Laboratory), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561-ปัจจุบัน.
  25. วย.214 วัสดุวิศวกรรมโยธา (CE 214 Civil Engineering Materials), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2561-2563.
  26. ทย.402 เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ในงานวิศวกรรมโยธา (CET.402 Technology and Software for Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  27. วย.327 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (CE 327 Reinforced Concrete Design), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2562-ปัจจุบัน.
  28. วย.313/314 กำลังของวัสดุ 2 (CE 313/314 Strength of Materials II), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2562-2563 และปัจจุบัน
  29. วย.303 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 (CE 303 Structural Analysis 1), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2563.
  30. ทย.402 เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ในงานวิศวกรรมโยธา (CET.402 Technology and Software for Civil Engineering), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2561.
  31. ทย.308 เทคโนโลยีการฟื้นฟูและบำรุงรักษาอาคาร (CET.308 Building Rehabilitation and Maintenance), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร (ต่อเนื่อง) ฉบับปี พ.ศ.2560, ปีการศึกษา 2563.
  32. วย.320 สัมมนาและรายงาน (CE 320 Seminar and Report), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2564.
  33. วย.326 เทคโนโลยีคอนกรีต (CE 326 Concrete Technology), สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) พ.ศ.2561, ปีการศึกษา 2564.

ระดับปริญญาโท

  1. วศย 534 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง (CVE534 Advanced Foundation Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557.
  2. วศย 632 การออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหว (CVE 632 Seismic Design of Structures), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2558.
  3. วศย 531 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง (CVE531 Advanced Structural Analysis), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2558.
  4. วศย 502 การออกแบบงานวิจัยทางวิศวกรรมโยธา (CVE502 Research Design in Civil Engineering), ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557.
  5. วศย 533 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง (CVE533 Advanced Reinforced Concrete Design), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2557 และ 2559-2560.
  6. วศย 636 เทคนิคและวัสดุที่ใช้ซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีตที่เสื่อมสภาพ (CVE636 Repair Techniques and Materials for Deteriorated Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2554, ปีการศึกษา 2561.
  7. วศย 537 การออกแบบโครงสร้างขั้นสูง (CVE537 Advanced Structural Design), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2561.
  8. วศม 532 พฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีต (CVE532 Behaviors of Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2563.
  9. วศม 533 พฤติกรรมของโครงสร้างเหล็ก (CVE533 Behaviors of Steel Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2557, ปีการศึกษา 2563.
  10. วศย 531 ทฤษฎีและกลไกของโครงสร้างคอนกรีต (CVE531 Theory and Mechanism of Concrete Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  11. วศย 534 การออกแบบขั้นสูงสำหรับโครงสร้างวิศวกรรม (CVE534 Advanced Design for Engineering Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  12. วศย 535 วิทยาการออกแบบอาคารสูง (CVE535 Tall Building Design Technology), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2564.
  13. วศย 537 การออกแบบโครงสร้างกักกัน (CVE537 Design of Retaining Structures), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) ฉบับปี พ.ศ.2564, ปีการศึกษา 2565.


1.6 การให้คำปรึกษาปริญญานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา

  1. ธรรมการ ภัคพิตรพิบูล ภายใต้หัวข้อ “การปรับปรุงเอลิเมนต์โครงข้อแข็งสำหรับการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์แบบไร้เชิงเส้นของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยพิจารณาการเสียรูปจากแรงเฉือน,” ปีการศึกษา 2559.
  2. ปกรณ์ภัทร บุดชา ภายใต้หัวข้อ “ผลกระทบของมาตรการออกแบบสะพานเพื่อต้านทานแผ่นดินไหวของไทย ที่มีต่ออัตราส่วนความต้องการต่อวิสัยสามารถของเสาเดี่ยวคอนกรีตเสริมเหล็ก,” ปีการศึกษา 2562.


1.7 งานบริการทางวิชาชีพวิศวกรรม

  1. วิศวกรโครงสร้าง (2565-2567) โครงการก่อสร้างโครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก (เฟสที่1), ที่ปรึกษาด้านการจัดการส่วนต่อประสาน (Interface Management Consultants, IMC), ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท ไอบีไอเอส จำกัด.
  2. วิศวกรโครงสร้าง (2564) การศึกษาผลกระทบและอันตรายที่เกิดจากฟ้าผ่าลงบนรางคอนกรีตของโครงการรถไฟฟ้า Monorail สายสีเหลือง (A Study of Effects and danger caused by Lightning on Guideway Beams of Yellow and Pink Line Monorail Projects) ทั้งขนาด 60 kA และ 200 kA โดยวิเคราะห์ทั้งผลที่เกิดจากอุณหภูมิและคลื่นกระแทก ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  3. วิศวกรโครงสร้าง (2563) การวิเคราะห์และออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักร (Analysis and Design of Machine Foundation) ขนาด 35 ตัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งการสั่นสะเทือนแบบอิสระและการสั่งสะเทือนแบบบังคับ ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  4. วิศวกรโครงสร้าง (2562) การตรวจประเมินสะพานแผ่นพื้นอัดแรงรูปกล่อง (Adjacent Box-Beam Superstructure) ช่วงยาว 20 เมตร ด้วยวิธี ตัวคูณประเมิน (Rating Factors) ทั้งแบบ AASHTO LFR และ AASHTO LRFR ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  5. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ออกแบบโครงสร้างส่วนล่างของสะพานท้ายเขื่อน (Down-Steam Bridge) ของโครงการโรงไฟฟ้าน้ำเทิน 2 (Nam Theun 2 Power Plant) ที่ประเทศลาว ตอม่อสูง 25 เมตร รองรับน้ำหนักรถส่งถ่านหินน้ำหนักสูงสุดขนาด 63 ตัน/คัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  6. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ออกแบบแผ่นพื้นไร้คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (Main Workshop Slab) สำหรับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สำโรง) ความยาวช่วงพื้นเท่ากับ 4 ม. รองรับน้ำหนักบรรทุกจร 1600 กก./ม.2 และรถขนของขนาด 29 ตัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  7. วิศวกรโครงสร้าง (2562) ตรวจสอบกำลังรับน้ำหนักของโครงสร้างส่วนล่างของสะพานที่เสาเข็มและตอม่อเกิดการเยื้องศูนย์ ในโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายบางปะอิน-นครราชสีมา (M6) ตอม่อสูง 27.5 ม. รองรับคานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องแบบชิ้นส่วนย่อยขนาดกว้าง 16.3 ม. ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  8. วิศวกรโครงสร้าง (2561) การคำนวณออกแบบโครงสร้างเหล็ก เพื่อรองรับหม้อต้มน้ำ (Boiler) และปล่อง (Chimney) ขนาดความจุ 240 ตัน ชุดโครงสร้างกว้าง 230 เมตร ยาว 700 เมตร สูง 40 ม. ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  9. วิศวกรโครงสร้าง (2561) การคำนวณเพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของคานติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีต ความยาวช่วงเสา 42.5 ม. และรับน้ำหนักคานสะพาน 1200 ตัน ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท เอสพีอีอี จำกัด.
  10. ผู้เชี่ยวชาญด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค (2561) โครงการการวางผังภาคกลาง ผู้รับผิดชอบโครงการ โดย บริษัท ออโรส คอนซัลแทนท์ แอนด์ บิวสิเนส โซลูชั่น.
  11. วิศวกรออกแบบสะพาน (2560) โครงการปรับปรุงสะพานกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ดำเนินการโดย ส่วนพัฒนากายภาพ สำนักงานอธิการบดี มูลค่าโครงการก่อสร้าง 9,000,000 บาท
  12. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2560) โครงการก่อสร้างส่วนต่อขยายทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี รับผิดชอบในการออกแบบสะพานทางร่วม (Interchange bridges) จุดต่อ 5, 7 และนครไชยศรี รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  13. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2559) โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู หลักสี่-มีนบุรี โดยวิเคราะห์และออกแบบอาคารจอดรถส่วนบุคคล ขนาด 94,656 ตร.ม. และอาคารสำนักงานสูง 6 ชั้น ขนาด 6,160 ตร.ม. ทั้ง 2 อาคารต้องออกเป็นแผ่นพื้นเป็นแบบไร้คานอัดแรงทีหลังช่วงยาว 8 ม. รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  14. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2559) โครงการประเมินสมรรถนะของโครงสร้างท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิม (Existing jetty structures) เจ้าของโครงการคือ บริษัท xxx จำกัด เป็นประเมินเพื่อหาแนวทางเสริมกำลัง และวิเคราะห์ความเสียหาย สำหรับที่จะวางแนวท่อเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มเส้นทางการผลิตใหม่
  15. วิศวกรผู้ตรวจสอบการออกแบบ (2558) โครงการรถไฟสายสีแดง สัญญา 1 บางซื่อ-ดอนเมือง รับผิดชอบโครงการโดยบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  16. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2558) การเสริมกำลังคานถ่ายแรงซึ่งรองรับน้ำหนักบรรทุก 3,000 ตัน ในอาคารที่พักอาศัยขนาดใหญ่ (คอนโดมิเนียม สูง 53 ชั้น)
  17. วิศวกรออกแบบสะพาน (2558) โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบระบบรถไฟทางคู่ ช่วงเด่นชัย-เชียงใหม่ รับผิดชอบโครงการโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด เสนอต่อ สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม
  18. วิศวกรออกแบบสะพาน (2557) โครงการรถไฟสายสีแดง สัญญา 1 บางซื่อ-ดอนเมือง และสัญญา 2 ดอนเมือง-รังสิต รับผิดชอบโครงการโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด
  19. หัวหน้าโครงการ (2555) การทดสอบกำลังรับน้ำหนักของสะพานข้ามคลอง 3 โครงการ เดอะพาลาซเซ็ตโต้ คลองหลวง เสนอต่อบริษัท วังทอง กรุ๊ป จำกัด
  20. หัวหน้าโครงการ (2555) โครงการประเมินสมรรถนะของโครงสร้างท่าเทียบเรือที่มีอยู่เดิม (Existing jetty structures) เจ้าของโครงการคือ บริษัท xxx จำกัด เป็นประเมินและหาทางเลือกสำหรับการวางแนวท่อขนส่งน้ำมันสำหรับโครงสร้างที่มีอยู่เดิมอายุ 50 ปี รวมความยาวประมาณ 2.0 กม.
  21. วิศวกรออกแบบสะพาน (2555) โครงการก่อสร้างทางยกระดับ สะพานลอยข้ามแยกและทางต่างระดับ (โครงการ ง.3) เจ้าของโครงการ คือ กรุงเทพมหานคร เป็นการออกแบบสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องต่อเนื่อง 5 ช่วง โดยมีช่องจราจรตั้งแต่ 2 – 6 ช่อง ทั้งรูปแบบที่เป็นคานต่อเนื่องวางบนเสาสะพานอย่างง่ายและคานต่อเนื่องแบบหล่อเป็นเนื้อเดียวกับเสาสะพาน
  22. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2554) โครงการขนย้ายเครื่องจักรกลขนาด 400 ตัน จากท่าเรือแหลมฉบังไปยังชายแดนประเทศลาว ในโครงการนี้เป็นการวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในสะพานเนื่องจากรถที่มีพิกัดน้ำหนักบรรทุกพิเศษ พร้อมทั้งหาแนวทางแก้ไขในกรณีที่หน่วยแรงมีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ เจ้าของงานคือ บริษัท ยิวชุน ประเทศไทย (จำกัด)
  23. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2554) โครงการทดสอบกำลังรับน้ำหนักของสะพานรถไฟลอยฟ้าสายสีแดง (ตลิ่งชัน-บางซื่อ) เจ้าของโครงการ คือ การรถไฟแห่งประเทศไทยเป็นการทดสอบสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องต่อเนื่อง 3 ช่วง (33.5-40.0-40.0 ม.) น้ำหนักที่ใช้ในการทอสอบรวมต่อช่วงคานเท่ากับ 660 ตัน โดยการทดสอบเป็นไปตามมาตรฐานอังกฤษ
  24. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2553) โครงการวิเคราะห์การเสริมกำลังไซโลเก็บซีเมนต์ผงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 22 ม. ความสูงรวม 70 เมตร โดยใช้โปรแกรม FEM ชนิด Shell element เพื่อวิเคราะห์หน่วยแรงสูงสุดจากการปล่อยซีเมนต์ในเงื่อนไขต่างๆเพื่อนำไปออกแบบรูปแบบการเสริมกำลัง มูลค่างาน 96 ล้านบาท
  25. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2553) โครงการศึกษาและออกแบบฐานรากรับแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องจักร ขนาด 30 ตัน จำนวน 3 ตัว โครงสร้างฐานรากถูกจำลองโดยโปรแกรมไฟไนต์อิลิเมนต์ GTSTRUDL ด้วย solid element เพื่อวิเคราะห์หารูปแบบการสั่น (Mode shapes) และใช้โปรแกรม SAP2000 เพื่อวิเคราะห์หน่วยแรงในฐานรากและเสาเข็ม มูลค่าก่อสร้าง 100 ล้านบาท
  26. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2552) โครงการเสริมกำลังอาคารจอดรถสูง 6 ชั้น คิดเป็นพื้นที่การเสริมกำลัง 21,235.50 ม.² ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กล้วยน้ำไท) ในโครงการนี้เป็นการเสริมกำลังสำหรับน้ำหนักบรรทุกปรกติ โดยใช้ (1) บ่าเหล็ก (Steel bracket) เพื่อรับแรงเฉือนทะลุ ร่วมกับ (2) คาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) เพื่อรับแรงดัด การออกแบบเป็นไปตามมาตรฐาน ACI440-2008 และมีการทำการทดสอบในสนามเมื่อเสร็จสิ้นโครงการด้วย รวมมูลค่าการเสริมกำลัง 20 ล้านบาท
  27. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2552) โครงการเสริมกำลังอาคารจอดรถชั้นใต้ดินของห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน ในโครงการนี้เป็นการเสริมกำลังแผ่นพื้นไร้คานท้องเรียบด้วย (1) บ่าเหล็ก (Steel bracket) เพื่อรับแรงเฉือนทะลุร่วมกับ (2) คาร์บอนไฟเบอร์ (CFRP) เพื่อรับแรงดัด โดยออกแบบเป็นไปตามมาตรฐาน ACI440-2008 เพื่อรับน้ำหนักบรรทุกเพิ่มจากเดิม 400 กก./ม.2 เป็น 800 กก./ม.2 ทั้งนี้ได้มีการออกแบบรูปแบบการทดสอบจริงในสนาม (Field load test) ในส่วนท้ายโครงการด้วย รวมมูลค่าการเสริมกำลัง 14 ล้านบาท
  28. วิศวกรออกแบบโครงสร้าง (2551) โรงงานเก็บปุ๋ยที่จังหวัดชัยนาท โครงสร้างเป็นอาคารโล่งชั้นเดียวสูง 15 ม. พื้นที่รวม 1,800 ม.2 พื้นโรงงานวางบนเสาเข็ม หลังคาเป็นโครงข้อหมุนช่วงยาว 40 ม
  29. วิศวกรวิเคราะห์โครงสร้าง (2550) ของกลุ่มที่ปรึกษาเพื่อจัดทำ มยผ. 1312-51 มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างอาคารอพยพในเขตเสี่ยงภัยสึนามิระดับปานกลาง ให้กับกรมโยธาธิการและผังเมือง
  30. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) สะพานเหล็กรูปตัวไอโค้งในระนาบ (Horizontally I-curved Bridge) สามช่วงต่อเนื่อง ความยาวช่วงละ 50 เมตร และรวมความยาวทั้งหมด 220 ม. เพื่อใช้เป็นสะพานระบายรถออกจากศูนย์การค้าบนถนนรามอินทรา ในโครงการปรับปรุงสภาพการจราจรของศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์ มูลค่าก่อสร้างเฉพาะตัวสะพาน 84 ล้านบาท รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  31. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) โครงการก่อสร้างทางรถไฟสายแม่กลอง (ช่วงหัวลำโพง-มหาชัย) ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร(สนข) และการรถไฟฯ (รฟท) เป็นโครงการสำรวจและออกแบบรายละเอียดทางรถไฟฟ้ายกระดับจากหัวลำโพงสิ้นสุดที่สถานีมหาชัย ขนาดของรางรถไฟเป็นชนิด Standard Gauge (กว้าง 1.435 ม.) ความยาวรวม 37.035 กม. โครงสร้างหลักๆแบ่งเป็น 2 ช่วง คือช่วงในเขต กทม. และช่วง นอกเขตเมือง มูลค่างานตามสัญญาจ้างสำรวจและออกแบบ 163.5 ล้านบาท มูลค่าโครงการทั้งหมดประมาณ 40,000 ล้านบาท รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  32. วิศวกรออกแบบสะพาน (2549) สะพานข้ามลำน้ำซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจากโครงการก่อสร้างเขื่อนน้ำงึม 2 ที่ประเทศลาว สะพานช่วงเดี่ยวยาว 80 ม. ตัวตอม่อสูง 21 เมตร ตัวสะพานออกแบบให้สามารถต้านทานแรงดันน้ำที่ความเร็ว 8 ม./วินาที และออกแบบเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว รับผิดชอบโดย Asdicon Cooperation Company Limited
  33. วิศวกรที่ปรึกษา (2548) ควบคุมงานก่อสร้างอาคารหอพักนักศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย เป็นอาคาร คสล. คู่ สูง 3 ชั้น มูลค่าการก่อสร้าง 50 ล้านบาท รับผอดชอบโดย บริษัท Vanguard, Ltd.
  34. วิศวกรควบคุมงาน (2546) ควบคุมงานก่อสร้างอาคารหอพักนักศึกษาบริเวณมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นอาคาร คสล. คู่ สูง 4 ชั้น มูลค่าการก่อสร้าง 30 ล้านบาท รับผิดชอบโดย บริษัท Fai construction, Ltd.


1.8 ประเภทใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

  1. วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จากสภาวิศวกร (COE) ระดับสามัญวิศวกร, พ.ศ.2558-ปัจจุบัน
  2. วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จากสภาวิศวกร (COE) ระดับภาคีวิศวกร, พ.ศ.2546-2557


1.9 บรรณาธิการในวารสารทางวิชาการ

  1. รองบรรณาธิการ, วารสารทางวิชาการสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย (วารสารวิชาการ สคท.), สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2567-2568.
  2. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วารสารคอนกรีต (TCA Magazine), สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2565-2566.
  3. กองบรรณาธิการ, สารวิศวกรรม (COE Newsletters), สภาวิศวกร, ประจำปี พ.ศ.2559-2562.
  4. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา (EIT Journal : Research and Development), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2559.
  5. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, วิศวกรรมสาร (Thailand Engineering Journal), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2559.
  6. เลขานุการในกองบรรณาธิการ, โยธาสาร (Civil Engineering Magazine), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2554-2556.


1.10 กิจกรรมเพื่อสังคมทางวิศวกรรม

  1. คณะทำงาน, คณะทำงานกำหนดยุทธศาสตร์และส่งเสริมการยื่นขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร และระดับภาคีวิศวกรพิเศษ สาขาวิศวกรรมโยธา, สภาวิศวกร, 2566-2568.
  2. สาราณียกรและคณะกรรมการอำนวยการ, สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ประจำปี พ.ศ.2567 – 2568.
  3. ประธาน, คณะอนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2566-2567.
  4. กรรมการ, คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2566-2568.
  5. หัวหน้าคณะทำงาน, (2566) คณะทำงานเพื่อเรียบเรียง “ผลงานเด่นทางวิศวกรรมโครงสร้าง,” คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน ประจำปี 2564 – 2565, คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา ประจำปี 2563-2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
  6. กรรมการและเลขานุการ, คณะกรรมการผู้จัดทำมาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง (วสท.1008), คณะอนุกรรมการสาขาคอนกรีตและวัสดุ ประจำปี พ.ศ.2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  7. กรรมการและเลขานุการ, คณะกรรมการผู้จัดทำมาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตอัดแรง (วสท.1009), คณะอนุกรรมการสาขาคอนกรีตและวัสดุ ประจำปี พ.ศ.2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  8. กรรมการ, อนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2564-2565.
  9. ที่ปรึกษา, คณะกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ภาคเหนือ, ประจำปี พ.ศ.2563-2564.
  10. คณะกรรมการอำนวยการ, สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ประจำปี พ.ศ.2562 – 2563.
  11. ประธาน, อนุกรรมการสาขาคอนกรีต วัสดุและการก่อสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2561-2564.
  12. ประธาน, อนุกรรมการสาขาโครงสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2565-2566.
  13. กรรมการ, คณะทำงานตรวจสอบปัญหาอาคารและสิ่งปลูกสร้าง, สภาวิศวกร, ประจำปี พ.ศ.2560-2562.
  14. เลขานุการ/คณะกรรมการวิชาการและกรรมการสมทบ, อนุกรรมการสาขาคอนกรีต วัสดุและการก่อสร้าง, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ประจำปี พ.ศ.2557-2560.
  15. กรรมการ, อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ และ อนุกรรมการบริหารสำนักงานสภาวิศวกร, สภาวิศวกร, พ.ศ.2559-2562.
  16. ผู้ชำนาญการ, ในการเป็นสอบสัมภาษณ์และตรวจผลงาน เพื่อการเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกรโยธา, สภาวิศวกร, 2558-ปัจจุบัน.
  17. กรรมการ/รองประธาน, คณะกรรมการโครงการ, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ. 2554-2559.
  18. กรรมการและเลขานุการ, อนุกรรมการโครงสร้างและสะพาน, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2554-2558.
  19. ประธานคณะอนุกรรมการ, อนุกรรมการคอนกรีตและวัสดุ, สาขาวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประจำปี พ.ศ.2556-2558.
  20. เลขานุการและคณะทำงาน, คู่มือเลื่อนระดับสามัญวิศวกร 7 สาขา , สภาวิศวกร, พ.ศ.2555.
  21. เลขานุการและคณะทำงาน, คู่มือเลื่อนระดับสามัญวิศวกร สาขาโยธา แขนงวิชาโครงสร้าง, สภาวิศวกร, พ.ศ.2555.


1.11 ภาระงานที่มีต่อภาควิชา

  1. หัวหน้าหน่วยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมโครงสร้างพื้นฐานและระบบโครงสร้างการขนส่งทางราง, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2565-ปัจจุบัน
  2. ประธานโครงการบริการวิชาชีพทางวิศวกรรมโยธา, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2564-2565.
  3. ประธานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2559-2561.
  4. หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, พ.ศ.2556.


1.12 ภาระงานที่มีต่อคณะ

  1. คณะกรรมการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, พ.ศ.2565-2566
  2. คณะกรรมการบริหารศูนย์แห่งความยอดเยี่ยมทางวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน, คณะวิศวกรรมศาสตร์, พ.ศ. 2565-2566
  3. คณะกรรมการกลั่นกรองภาระงานภาระงานสาขาขาดแคลน สายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2559-2561.


1.13 ภาระงานที่มีต่อมหาวิทยาลัย

  1. กรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ประจำมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ตำแหน่งสายวิชาการ), พ.ศ.2565-ปัจจุบัน
  2. ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายพัฒนากายภาพและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2563
  3. ผู้อำนวยการส่วนพัฒนากายภาพ (ปฏิบัติหน้าที่), สำนักงานอธิการบดี, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-2560
  4. ประธานคณะกรรมการ, คณะทำงานด้านการจัดการพลังงานและทรัพยากรน้ำประจำหน่วยงาน ประจำปีการศึกษา 2559
  5. อนุกรรมการ,คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ในการพัฒนามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


1.14 ภาระงานที่มีต่อองค์กรในภาครัฐ

  1. ผู้เชี่ยวชาญในคณะทำงาน, โครงการปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบและก่อสร้าง ถนนและสะพานเพื่อรองรับแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว, กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, พ.ศ.2558-2559.
  2. ผู้เชี่ยวชาญในคณะทำงาน, คณะทำงานศึกษาคุณสมบัติของเหล็กเส้นที่ผลิตโดยผ่านกรรมวิธีทางความร้อน (Hot Treatment), กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, พ.ศ.2561-2562.
  3. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) งานจ้างก่อสร้างงานสาธารณูปโภคสาธารณูปการ และงานระบบประกอบอาคารและภายนอกอาคาร (ระยะที่ 2), สภาผู้แทนราษฎร, มูลค่าโครงการ 600,572,000 บาท
  4. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  5. คณะทำงานเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของคณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีกำแพงอาคาร service hall ท่าอากาศยานดอนเมืองพังถล่ม เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2564, กระทรวงคมนาคม
  6. คณะอนุกรรมการพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีเกิดอุบัติเหตุคานสะพานกลับรถ โครงการบูรณะและปรับปรุงสะพาน ทางหลวงหมายเลข 35 ตอนสะพานข้ามแม่น้ำท่าจีนตะวันตก-นาโคก ตอน 2 จังหวัดสมุทรสาคร พังถล่ม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2565, กระทรวงคมนาคม
  7. คณะกรรมตรวจการจ้าง, (พ.ศ.2565) โครงการก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ พร้อมอาคารประกอบ, สภาผู้แทนราษฎร, มูลค่าโครงการ 12,280,000,000 บาท
  8. คณะอนุกรรมการด้านมาตรฐานความปลอดภัยในการซ่อมบำรุง (ผู้แทนสภาวิศวกร), คณะกรรมการจัดระเบียบมาตรการควบคุมงานก่อสร้างของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม, กระทรวงคมนาคม, 2565-2566.
  9. คณะกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบและก่อสร้าง ถนน สะพาน ทางลอด และอุโมงค์ เพื่อรองรับแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว, กรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, 2566-2567
  10. กรรมการจัดทำมาตรฐานและคู่มือการออกแบบและก่อสร้าง ถนน สะพาน ทางลอดและอุโมงค์ สำหรับการใช้งานคอนกรีตสมรรถนะสูงกรมทางหลวง, กระทรวงคมนาคม, 2566-2567

 

1.15 คณะกรรมการในโครงการทางวิศวกรรมของมหาวิทยาลัย (ที่สำคัญ)

  1. คณะกรรมการควบคุมงาน, (พ.ศ.2559 – 2561) โครงการงานก่อสร้างและปรับปรุงกลุ่มอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 686 ล้านบาท
  2. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2559 – 2560) โครงการก่อสร้างอาคารโรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์ (ฝ่ายประถม) พร้อมปรับปรุงบริเวณโดยรอบ ระยะที่ 2, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 69 ล้านบาท
  3. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561) โครงการจ้างก่อสร้างปรับปรุงอาคารกิจกรรมนิสิตและพื้นที่ด้านหน้าอาคาร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 12.25 ล้านบาท
  4. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561) โครงการจ้างปรับปรุงระบบไฟฟ้าและสาธารณูปโภคอาคารเรียนรวม (อาคาร 14), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 36,400,400 บาท
  5. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561 – 2562) โครงการซื้อพร้อมติดตั้งวัสดุและครุภัณฑ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในหน่วยงานภาครัฐ – มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จังหวัดกรุงเทพมหานคร  , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 13,646,303.85 บาท
  6. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2561 – 2562) โครงการจ้างซ่อมแซมโครงสร้างฐานรากอาคารประสานมิตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 3.4 ล้านบาท
  7. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562) โครงการงานปรับปรุงอาคารและกายภาพของคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ภายหลังบอกเลิกสัญญาในส่วนงานที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 18,141,000 บาท
  8. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562 – 2563) โครงการปรับปรุงอาคารเรียน 6, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 10.91 ล้านบาท
  9. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2562 – 2563) โครงการก่อสร้างงานกลุ่มอาคารเรียนพร้อมระบบสาธารณูปโภคภายใน-ภายนอก โรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แม่แจ่ม, มูลค่าโครงการ 20 ล้านบาท
  10. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) โครงการก่อสร้างอาคารนวัตกรรมสุขภาวะ อาหารและนิติกรรม 1 หลัง (ส่วนที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 327.5 ล้านบาท
  11. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2564) งานควบคุมงานก่อสร้างอาคารนวัตกรรมสุขภาวะ อาหารและนิติกรรม 1 หลัง (ส่วนที่เหลือ), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 13 ล้านบาท
  12. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563) โครงการจ้างก่อสร้างปรับปรุงอาคาร 6 ชั้น 1, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 6,120,000 บาท
  13. ประธานคณะกรรมการจัดทำแบบรูปรายการงานก่อสร้าง (พ.ศ.2563), รายการ จ้างก่อสร้างอาคารหอพักนิสิต มศว องครักษ์ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 450,000,000 บาท
  14. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2566 – 2565) โครงการจ้างปรับปรุงและตกแต่งหอประชุมใหญ่โรงเรียนสาธิต มศว องครักษ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, มูลค่าโครงการ 41.5 ล้านบาท
  15. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2563 – 2565) อาคารผู้ป่วยนอก (OPD), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 500 ล้านบาท
  16. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564 – 2565) โครงการจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ระยะที่ 3), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 40,960,000บาท
  17. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564-2565) โครงการก่อสร้างหอพักนิสิต มศว องครักษ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 450,000,000บาท
  18. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2564-2565) โครงการปรับปรุงถนนและระบบระบายน้ำโดยรอบมหาวิทยาลัย, มูลค่าโครงการ 28.67 ล้านบาท
  19. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานจ้างก่อสร้าง, (พ.ศ.2565-2566) ศูนย์เทคโนโลยีเกษตร วิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 41,990,000 บาท
  20. หัวหน้าคณะกรรมการควบคุมงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2565 – 2566) โครงการจ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ระยะที่ 4), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์, มูลค่าโครงการ 44,590,000 บาท
  21. ประธานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ, (พ.ศ.2565-2566) โครงการจ้างปรับปรุงอาคาร 2 ชั้น 1 คณะมนุษยศาสตร์ (ครั้งที่ 2), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 10,887,000 บาท
  22. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้าง, (พ.ศ.2565-2567) โครงการจ้างปรับปรุงอาคารหอประชุม มศว ประสานมิตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 125,000,000 บาท
  23. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบ, (พ.ศ.2565-2566) โครงการจ้างออกแบบอาคารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, มูลค่าโครงการ 34,895,000 บาท

 

1.16 งานบริการวิชาการทางวิศวกรรม

  1. ประธานโครงการ, (2561) โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคโนโลยีการเสริมความแข็งแรงอาคารต้านแผ่นดินไหวและการตรวจสอบงานก่อสร้างเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสำนักพัฒนาและบำรุงรักษาอาคารราชพัสดุ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง, มูลค่างาน 4.55 ล้านบาท.
  2. ประธานโครงการ, (2561) โครงการศึกษา “การทดสอบน้ำหนักบรรทุกของคานคอนกรีตอัดแรงขนาดเท่าจริง (Full-Scale Load tests of Prestressed Concrete Girders),” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 6.05 ล้านบาท.
  3. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “การทดสอบน้ำหนักบรรทุกของสะพานข้ามแยกบางกะปิ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 22 ล้านบาท.
  4. ประธานโครงการ, (2562) โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพย์สินภาครัฐ,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง, มูลค่างาน 1.20 ล้านบาท.
  5. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลกระทบระยะสั้นเนื่องจากการอัดแรงของคานคอนกรีตหล่อสำเร็จสำหรับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพูและเหลือง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 658,770 บาท.
  6. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลของการบีบรัดของล้อรถไฟแบบรางเดี่ยวที่มีต่อคานคอนกรีตอัดแรง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 434,000 บาท.
  7. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “ผลกระทบระยะยาวเนื่องจากการอัดแรงของคานคอนกรีตหล่อสำเร็จสำหรับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพูและเหลือง,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 710,580 บาท.
  8. ประธานโครงการ, (2562) โครงการศึกษา “การศึกษาความร้อนของคอนกรีตกำลังสูงซึ่งมีผลต่อ Delayed Ettringite Formation (DEF),” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดจ้างโดย บริษัท ซิโน ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน)‎, มูลค่างาน 888,250 บาท.
  9. ประธานโครงการ, (2563) โครงการศึกษา “การเฝ้าสังเกตพฤติกรรมสะพานเพื่อรองรับการขนส่งที่พิกัดสูงเกินขนาด,” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 7.3 ล้านบาท.
  10. ประธานโครงการ, (2563) โครงการศึกษา “ศึกษาความสามารถในการต้านทานแรงระเบิดของประตู” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 1,170,000 บาท
  11. ประธานโครงการ, (2565) โครงการศึกษา “การประเมินความเสียหายเนื่องจากไฟไหม้, การทดสอบกำลังรับน้ำหนัก, และการสังเกตการณ์สุขภาพโครงสร้างของสะพานคอนกรีตอัดแรง” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 5,650,133.33 บาท
  12. กรรมการโครงการ, (2565) โครงการศึกษา “การทดสอบและประเมินการบดอัดด้วยวิธี Rapid Impact Compaction (RIC) ในสนาม เพื่อการปรับปรุงคุณภาพดิน” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 2,333,333.33 บาท
  13. ประธานโครงการ, (2565) โครงการ “ทดสอบโครงสร้างคานรองรับทางวิ่ง โดยวิธี PUSHOVER” รับผิดชอบโครงการโดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ‎, มูลค่างาน 2,988,888.89 บาท

 

1.17 ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินบทความทางวิชาการ

  • ระดับนานาชาติ
  1. Case Studies in Construction Materials has been indexed by SCOPUS and published by lsevier BV with editor-in-Chief is Professor Michael Grantham, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.784 and SCImago Journal Rank (SJR): 0.828 with Q1.
  2. Construction and Building Materials has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier Ltd. and editor-in-Chief is Michael C. Forde, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 217, SCImago Journal Rank (SJR): 1.491 with Q1.
  3. Journal of Engineering Science and Technology has been indexed by SCOPUS and published by Taylor’s University with editor-in-Chief is Ir Dr Siva Kumar Sivanesan. Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 584, SCImago Journal Rank (SJR): 0.238 with Q2.
  4. Engineering Journal has been indexed by SCOPUS and published by Chulalongkorn University and editor-in-Chief is Prof.Piyasan Praserthdam, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.496, SCImago Journal Rank (SJR): 0.228 with Q2.
  5. Steel and Composite Structures, An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno Press and editor-in-Chief is Prof. Chang-Koon Choi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 127, SCImago Journal Rank (SJR): 1.05 with Q1.
  6. Current Applied Science and Technology has been indexed by SCOPUS and published by King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang and editor-in-Chief is Assoc. Prof.Dusanee Thanaboripat, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.132, SCImago Journal Rank (SJR): 0.14 with Q4.
  7. Buildings has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. David Arditi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 312, SCImago Journal Rank (SJR): 0.581 with Q1.
  8. Materials has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Maryam Tabrizia, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 261, SCImago Journal Rank (SJR): 0.682 with Q1.
  9. Polymers has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Alexander Böker, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 20, SCImago Journal Rank (SJR): 0.77 with Q1.
  10. Heliyon has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier and section editors is Prof. Andrea Francesco Morabito, PhD & Prof. Mohammad Mehdi Rashidi, PhD, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.079, SCImago Journal Rank (SJR): 0.455 with Q1.
  11. Results in Engineering has been indexed by SCOPUS and published by Elsevier and Co-editor-in-Chief are Dr.Antonio García Martinez, Professor Suresh C. Pillai, and Dr. Norman Toy, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.096, SCImago Journal Rank (SJR): 0.383 with Q1.
  12. Journal of Reinforced Plastics and Composites has been indexed by SCOPUS and published by SAGE Publications with editor-in-Chief is Prof.Dr.Narongrit Sombatsompop, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.328, SCImago Journal Rank (SJR): 0.675 with Q1.
  13. Applied Sciences has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Takayoshi Kobayashi, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 026, SCImago Journal Rank (SJR): 0.51 with Q2.
  14. Structural Engineering and Mechanics: An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno-Press and editor-in-Chief are Prof.Chang-Koon Choi and Prof.Phill-Seung Lee, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.841, SCImago Journal Rank (SJR): 0.55 with Q2.
  15. European Journal of Environmental and Civil Engineering has been indexed by SCOPUS and published by Taylor & Francis and editor-in-Chief are Günther Meschke and François Nicot, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.123, SCImago Journal Rank (SJR): 0.547 with Q2.
  16. Computers and Concrete, An International Journal has been indexed by SCOPUS and published by Techno-Press and editor-in-Chief is Prof.Chang-Koon Choi (Ph.D.), Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 0.944, SCImago Journal Rank (SJR): 0.66 with Q1.
  17. Structural Concrete has been indexed by SCOPUS and published by John Wiley & Sons and editor-in-Chief is Prof.Dr.Ir.Luc Taerwe, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.519, SCImago Journal Rank (SJR): 0.838 with Q1.
  18. Scientific Reports has been indexed by SCOPUS and published by Springer Nature and editor-in-Chief is Dr.Rafal Marszalek, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.312, SCImago Journal Rank (SJR): 0.973 with Q1.
  19. Journal of Building Pathology and Rehabilitation has been indexed by SCOPUS and published by Springer Nature and editors-in-Chief are João Quesado Delgado, Esequiel F. T. Mesquita, & Carmen Andrade, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.000, SCImago Journal Rank (SJR): 0.451 with Q2.
  20. International Journal of Concrete Structures and Materials has been indexed by SCOPUS and published by Springer Nature and editor-in-Chief is Prof.Dr.Jae-Yeol Cho, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.321, SCImago Journal Rank (SJR): 0.873 with Q1.
  21. Fractal and Fractional has been indexed by SCOPUS and published by MDPI and editor-in-Chief is Prof. Dr. Carlo Cattani, Source Normalized Impact per Paper (SNIP): 1.547, SCImago Journal Rank (SJR): 0.627 with Q2.

 

  • ระดับชาติ
  1. Engineering Journal of Research and Development has been indexed by TCI and published by Engineering Institute of Thailand and editor-in-chief is Assoc. Prof. Tavorn Amornkitti. TCI Tier 2.
  2. Kasem Bundit Engineering Journal has been indexed by TCI and published by Kasem Bundit and editor-in-chief is Assoc. Prof. Dr. Chairit Sattayaprasert. TCI Tier 1.
  3. Naresuan University Journal: Science and Technology (NUJST) has been indexed by TCI and published by Naresuan University and editor-in-chief is Assoc. Professor Dr.Sutisa Thanoi. TCI Tier 1.
  4. KKU Research Journal (Graduate Studies) has been indexed by TCI and published by Khon Kaen University and editor-in-chief is Prof.Dr.Wittaya Ngeontae. TCI Tier 1.
  5. CRMA Journal has been indexed by TCI and published by Chulachomklao Royal Military Academy and editor-in-chief is Col.Assoc.Prof.Dr.Phaderm Nangsue. TCI Tier 2.
  6. KKU Research Journal (Graduate Studies) has been indexed by TCI and published by Khon Kaen University and editor-in-chief is Dr.Wittaya Ngeontae. TCI Tier 1.
  7. Thailand Concrete Association Journal (TCA Journal) has been indexed by TCI and published by Thailand Concrete Association and editor-in-chief is Dr. Somnuk Tangtermsirikul. TCI Tier 2.
  8. Journal of Science and Technology Kasetsart University has been indexed by TCI and published by Kasetsart University Kamphaeng Saen campus and editor-in-chief is Assist.Dr.Sukanya Rattanatabtimtong. TCI Tier 2.
  9. RMUTSB Academic Journal has been indexed by TCI and published by Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi and editor-in-chief is Asst. Prof. Dr.Natthapong Wongdamnern. TCI Tier 1.

2.1 สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  1. วิศวกรรมโครงสร้าง

 

2.2 สาขาวิชาที่ชำนาญ

  1. วิศวกรรมแผ่นดินไหว
  2. วิศวกรรมสะพาน
  3. วิศวกรรมฟื้นฟูและเสริมกำลังโครงสร้าง
  4. วิศวกรรมอิฐประสาน
  5. คอนกรีตเวียนใช้ใหม่และวัสดุวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน

 

2.3 หัวข้อวิจัยที่สนใจ

การศึกษาแบบจำลองน้ำหนักบรรทุกจรของรถบรรทุกสำหรับประเทศไทย การประเมินกำลังรับน้ำหนักของสะพานภายใต้ภาวะน้ำหนักบรรทุกเกินพิกัด พฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตภายใต้แรงแผ่นดินไหว และน้ำหนักบรรทุกรูปแบบต่าง วิธีในการเสริมกำลังโครงสร้าง และกลสมบัติของอิฐบล็อกแบบเข้าเขี้ยวที่ทำจากดินซีเมนต์ในท้องถิ่น

 

2.4 แนวคิดในการดำเนินงานวิจัย

ดร.ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด สนใจงานวิจัยออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มวิศวกรรมสะพาน ซึ่งงานวิจัยโดยมากมุ่งเน้นการสังเคราะห์แบบจำลองน้ำหนักบรรทุกของรถบรรทุกในประเทศไทย ซึ่งจะนำไปสู่มาตรฐานการออกแบบสะพานในประเทศไทยที่มีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ต่อมาคือกลุ่มพฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตภายใต้รูปแบบการกระตุ้นแบบต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว แรงลม อัคคีภัย สึนามิ ระเบิด รวมถึงการสั่นสะเทือนจากเครื่องจักร ซึ่งงานวิจัยในกลุ่มนี้เน้นตอบสนองต่อวิศวกรนักปฏิบัติที่จะนำทฤษฎีที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดทางวิชาชีพวิศวกรรม โดยสุดท้ายคือกลุ่มการพัฒนาเทคนิคการก่อสร้างสำหรับชุมชนที่กำลังพัฒนา รวมถึงการส่งเสริมให้มีการใช้วัสดุก่อสร้างเพื่อความยั่งยืน ซึ่งต้องการลงพื้นที่เพื่อนำความรู้จากการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน

 

2.5 โครงการวิจัย/บริการชุมชน

  1. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2567) การศึกษาสมบัติด้านความคงทนและเชิงกลของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมจากของเสีย. ทุนวิจัยจากงบประมาณจากเงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2567, รหัสโครงการ xxx/2567, งบประมาณ 200,000 บาท
  2. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2567) . การใช้วัสดุเชิงประกอบที่มีต้นทุนต่ำและยั่งยืนสำหรับการเสริมกำลังเสาคอนกรีตที่ทำจากมวลรวมเสียทิ้ง. โครงการวิจัยที่ได้รับงบประมาณ ววน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 รอบ 2, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2567, รหัสโครงการ 126/2567, งบประมาณ 200,000 บาท
  3. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2567) โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา. ภายใต้โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567, งบประมาณ 250,000 บาท
  4. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2566) โครงการอบรมการออกแบบและผลิตคอนกรีตสำเร็จรูปโดยใช้วัสดุเถ้าชีวมวลเป็นส่วนผสม. ภายใต้โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน ประเภทที่1 การนำผลงานวิจัยหรือผลงานนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์มาใช้บริการวิชาการ, งบประมาณ 250,000 บาท
  5. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2566) พฤติกรรมทางโครงสร้างของแผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวที่เสริมกำลังด้วยวัสดุราคาถูก. ทุนวิจัยจากเงินรายได้ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประเภทที่ 2 โครงการวิจัยส่งเสริมศักยภาพนักวิจัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2566, รหัสโครงการ 189/2566, งบประมาณ 200,000 บาท
  6. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2565) ผลตอบสนองเชิงอัดตามแนวแกนของเสาคอนกรีตสี่เหลี่ยมที่ถูกโอบรัดภายนอกด้วยเส้นใยแก้วราคาถูก. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2565, รหัสโครงการ 418/2565, งบประมาณ 180,000 บาท
  7. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2565) สมบัติของอิฐดินซีเมนต์ที่ปรับปรุงคุณภาพด้วยก้านกัญชง. งบประมาณเงินกองทุนส่งเสริมและพัฒนาการวิจัยส่วนสะสมของคณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2565, รหัสโครงการ 310/2565, งบประมาณ 142,200 บาท
  8. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2564) การพัฒนาวัสดุเชื่อมประสานจากกากอุตสาหกรรมสำหรับปรับปรุงคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินเหนียวอ่อนกรุงเทพ. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2564, รหัสโครงการ 599/2564, งบประมาณ 260,000 บาท
  9. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2564) พฤติกรรมของคอนกรีตผสมมวลรวมแปรใช้ใหม่ร่วมกับมวลรวมอิฐบดเนื่องจากการโอบรัดด้วยวัสดุประกอบพอลิเมอร์ในรูปของเสื่อที่ทอจากเศษ เส้นใยแก้วตีเกลียวราคาถูก. เงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2564, รหัสโครงการ 180/2564, งบประมาณ 250,000 บาท
  10. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2563) การพัฒนาเทคนิคการเสริมกำลังดัดของกำแพงอิฐบล็อกประสานดินซีเมนต์ในชุมชนจังหวัดนครนายก. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2563, รหัสโครงการ 687/2562, งบประมาณ 200,000 บาท
  11. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุนิติ สุภาพ (2563) พฤติกรรมการดัดของคานอัดแรงหล่อสำเร็จสำหรับการก่อสร้างสะพานรางเดี่ยว. เงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี 2563, รหัสโครงการ 467/2562, งบประมาณ 285,00 บาท
  12. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2562) การพัฒนาเทคนิคการเสริมกำลังโครงสร้างอิฐเพื่อต้านผลกระทบจากการไหวสะเทือน. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปีงบประมาณ 2562, รหัสโครงการ 102/2563, งบประมาณ 235,000 บาท
  13. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง, ธวัช สุริวงษ์, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์. (2562)โครงการระบบเกราะอาคารสำหรับป้องกันการโจมตีจากกระสุนปืนและลูกระเบิดจากเครื่องยิง M79, ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาทางด้านยุทโธปกรณ์และด้านหลักการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการก่อความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (อกวท.กห.จชต) โดย กรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม/มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นผู้รับผิดชอบ, งบประมาณ 1,200,000 บาท
  14. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2561) สมรรถนะของกำแพงอิฐบล็อกประสานที่มีช่องเปิดของประตูและหน้าต่างภายใต้แรงสลับทิศ. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปีงบประมาณ 2561, รหัสโครงการ 100/2562, งบประมาณ 250,000 บาท
  15. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2561) สมบัติทางกายภาพและกลสมบัติของคอนกรีตที่ใช้มวลรวมหยาบที่มาจากอิฐในประเทศไทย. เงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปีงบประมาณ 2561, รหัสโครงการ 284/2561, งบประมาณ 100,000 บาท
  16. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2560) การศึกษาพฤติกรรมการรับแรงอัดของชิ้นส่วนกำแพงอิฐก่อแบบประสานที่ผลิตจากดินซีเมนต์. เงินรายได้มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปีงบประมาณ 2560, รหัสโครงการ 568/2560, งบประมาณ 200,000 บาท
  17. อมร พิมานมาศ, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, ปรีดา ไชยมหาวัน และคุเดียร์ ฮุลเซ็น. (2559) การวิเคราะห์โครงสร้างโบราณสถานด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), งบประมาณ 2,390,800 บาท
  18. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, สิทธิสุนธร สุโพธิณะ และกิตติพงษ์ สุวีโร. (2559). ระบบอาคารถอดประกอบอัจฉริยะ : ระยะที่ 1 ระบบผนังเบาแบบถอดประกอบที่มีค่าการนำความร้อนต่ำและสามารถป้องกันกระสุนและการถูกตรวจจับในเวลากลางคืน. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, งบประมาณ 1,360,000 บาท
  19. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสาธิต อารีย์เจริญ. (2559). การศึกษาศักยภาพทางด้านวิศวกรรมสำหรับบล็อกประสานภูมิปัญญาท้องถิ่นบ้านดงละคร จังหวัดนครนายก. เงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปีงบประมาณ 2559, รหัสโครงการ 482/2559, งบประมาณ 130,000 บาท
  20. อมร พิมานมาศ, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และวิญญู รัตนปิติกรณ์. (2559). การเสริมกำลังโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยการพ่นวัสดุโพลีเมอร์เสริมเส้นใย. สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, งบประมาณ 2,000,000 บาท
  21. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และปิยพงษ์ สุวรรณมณีโชติ. (2558). การผลิตคอนกรีตประสิทธิภาพสูงสำหรับกำแพงป้องกันกระสุนและกัมมันตรังสี. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, งบประมาณ 1,000,000 บาท
  22. อมร พิมานมาศ, ปรีดา ไชยมหาวัน และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2558). การออกแบบ ก่อสร้างและเสริมความมั่นคงอาคารบ้านเรือนต้านแผ่นดินไหวสู่วิศวกรและชุมชนในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, งบประมาณ 1,539,940 บาท
  23. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, ปรีดา ไชยมหาวัน, รัตน์เกรียงไกร เปาเล้ง และอริสมันต์  แสงธงทอง. (2558). โครงการศึกษาวิจัยการเสริมความแข็งแรงโครงสร้างอาคารที่มีอยู่เดิมของการเคหะแห่งชาติ เพื่อรองรับภัยแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต. การเคหะแห่งชาติ, งบประมาณ 3,600,000 บาท
  24. อมร พิมานมาศ, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, สุนิติ สุภาพ, ปรีดา ไชยมหาวัน, อาดิศร์ อิดรีส รักษมณี, เจตตสิทธิ์ สิตยางกูร, ประกาศิต จันทนะลิขิต และรัตน์เกรียงไกร เปาเล้ง. (2557)โครงการศึกษาวิจัยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ใช้ในการป้องกันภัยพิบัติมาใช้กับการออกแบบและการก่อสร้างให้เป็นมาตรฐานในโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่ของการเคหะแห่งชาติเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน (AEC). การเคหะแห่งชาติ.
  25. อมร พิมานมาศ, ภาณุวัฒน์  จ้อยกลัด, ปรีดา  ไชยมหาวัน, ประกาศิต จันทนะลิขิต และรัตน์เกรียงไกร เปาเล้ง (2556). โครงการศึกษาวิจัยการกำหนดวิธีการซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างอาคารที่อยู่อาศัยที่เสียหายหรือเสื่อมสภาพและวิธีการทดสอบวัสดุสำหรับงานซ่อมแซม : กรณีศึกษาเชิงปฏิบัติการโครงการอาคารชุด 5 ชั้น ของการเคหะแห่งชาติ. การเคหะแห่งชาติ, งบประมาณ 2,500,000 บาท
  26. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุนิติ สุภาพ (2556) โครงการศึกษาพิกัดรถบรรทุกที่เหมาะสมในประเทศไทย รับผิดชอบโดย วิทยาลัยโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เสนอต่อ กรมขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม (ภายใต้กองทุนเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน)
  27. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2556) โครงการทดสอบสะพานกรมทางหลวงภายใต้การกระตุ้นแบบพลวัตเนื่องจากการจราจรและแผ่นดินไหวเพื่อปรับปรุงการออกแบบและเสริมกำลัง รับผิดชอบโครงการโดย บริษัท ไอ เอ็ม เอ็ม เอส จำกัด โดยผู้ว่าจ้างคือสำนักวิจัยและพัฒนางานทาง กรมทางหลวง
  28. ศิรดล ศิริธร, วิกรม พนิชการ, ภาวัต ไชยชาณวาทิก, สุนิติ สุภาพ และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2556) โครงการศึกษาประเมินประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการจัดตั้งสถานีตรวจสอบน้ำหนักเพื่อป้องกันการทำลายทางหลวงเนื่องจากน้ำหนักบรรทุกเกินกว่ากฎหมายกำหนด รับผิดชอบโครงการในนาม ศูนย์เทคโนโลยีประยุกต์ด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยผู้ว่าจ้างคือสำนักควบคุมน้ำหนักยานพาหนะ กรมทางหลวง


  • International Journal
    1. Julphunthong, P., Joyklad, P., Suriwong, T., Manprom, P., Chomphoorat, T., Palou, M. T. & Suriwong, T. (2024) Evaluation of Calcium Carbide Residue and Fly Ash as Sustainable Binders for Environmentally Friendly Loess Soil Stabilization, Scientific Reports, Vol.14, Article No.671, 1-16.
    2. Joyklad, P. (2024) Evaluating Research on the Utilization of Recycled Brick Aggregates in Concrete, Discover Applied Sciences, 6(4), article number 167, 1-17.
    3. Joyklad, P., Suriwong, T., Inyai, T., Chomphurat, T., Pheeraphan, T., Manprom, P., Laonamsai, J., & Julphunthong, P. (2024). Environmentally Friendly Binders from Calcium Carbide Residue and Silica Fume and Feasibility for Soft Clay Stabilization. Case Studies in Construction Materials, Vol.20, e03117, 1-16.
    4. Joyklad, P., Gadagamma, C. K., Meguro, K., Maneengamlert, B., Nawaz, A., Ejaz, A. Hussain, Q., Saingam, P. (2024) Structural Behavior of RC One-way Slabs Strengthened with Ferrocement and FRP Composites, Engineering Failure Analysis, Vol.161, e108328, 1-16.
    5. Thansirichaisree, P., Mohamad, H., Zhou, M., Ejaz, A., Saingam, P., Hussain, Q., & Joyklad, P. (2024) Hybrid B-CSM Composites Strengthening Approach for Improved Stress-Strain Behavior of Concrete Columns and Development of Analytical Models, Arabian Journal for Science and Engineering, https://doi.org/10.1007/s13369-024-08978-8 .
    6. Joyklad, P., Sirisonthi, A., Chaiyasarn, K., Hussain, Q., and Suparp, S. (2023) Structural Behavior of Full-Scale Precast Posttensioned Girder with Substandard Transverse Reinforcement–Experimental and Analytical Study, Structural Concrete, 24(1), 634-652
    7. Saingam, P., Ejaz, A., Ali, N., Nawaz, A., Hussain, Q., & Joyklad, P. (2023) Prediction of Stress-Strain Curves for HFRP Composites Confined Brick Aggregate Concrete under Axial Load, Polymers, 15(4), 844, 1-21.
    8. Sangthongtong, A., Semvimol, N., Rungratanaubon, T., Duangmal, K. & Joyklad, P. (2023) Mechanical Properties of Pervious Recycled Aggregate Concrete Reinforced with Sackcloth Fibers (SF), Infrastructures, 8(2), 38, 1-15.
    9. Joyklad, P., Waqas, H. A., Hafeez, A., Ali, N., Ejaz, A., Hussain, Q, Khan, K., Sangthongtong, A., & Saingam, P. (2023) Experimental Investigations of Cement Clay Interlocking Brick Masonry Structures Strengthened with CFRP and Cement-Sand Mortar, Infrastructures, 8(3), 59, 1-15.
    10. Yooprasertchai, E., Ejaz, A., Saingam, P., Ng, A.W.M. and Joyklad, P. (2023) Development of Stress-Strain Models for Concrete Columns Externally Strengthened with Steel Clamps, Construction and Building Materials, Vol.377, 131155, 1-14.
    11. Joyklad, P., and Hussain, Q. (2023) Development of Strength Models for Brick Walls: Experimental and Theoretical Study, Results in Engineering, Vol.18, 101103, 1-9.
    12. El-Nemr, A., Ahmed, E. A., Barris, C., Joyklad, P., Hussain, Q. and Benmokrane, B. (2023) Bond Performance of Fiber Reinforced Polymer Bars in Normal- and High-Strength Concrete, Construction and Building Materials, Vol.393, 131957, 1-15.
    13. Suparp, S., Ejaz, A.,Khan, K., Hussain, Q., Joyklad, P., and Saingam, P. (2023) Load-deflection and Strain Relationships of Non-Prismatic RC Beams Wrapped with Carbon FRP Composites, Sensors, 23(12), 5409, 1-28.
    14. Chaiyasarn, K., Poovarodom, N., Ejaz, A., Ng, A.W.M., Hussain, Q., Saingam, P., Mohamad, H., & Joyklad, P. (2023) Influence of Natural Fiber Rope Wrapping Techniques on the Compressive Response of Recycled Aggregate Concrete Circular Columns, Results in Engineering, Vol.19, 101291, 1-13.
    15. Saingam, P., Hlaing, H. H., Suwannatrai, R., Ejaz, A., Hussain, Q., and Joyklad, P. (2023) Enhancing the Flexural Behavior of Interlocking Brick Masonry Walls using Ferrocement Overlay and Development of Low-cost Anchors, Case Studies in Construction Materials, Vol.19, e02558, 1-17.
    16. Yooprasertchai, E., Bahrami, A., Saingam, P., Hussain, Q. Ejaz, A., and Joyklad, P. (2023) "The Incorporation of Steel Fibers to Enhance the Performance of Sustainable Concrete Made with Waste Brick Aggregates: Experimental and Regression-Based Approaches," Buildings, 13(11), 1-24.
    17. Suthumma, C., Hussain, Q., Ejaz, A., and Joyklad, P. (2023) “Behavior of Low-cost CCI Brick Prisms Subjected to Axial Cyclic Compression and Lateral Forces,” Journal of Namibian Studies, 37(1), 502-511.
    18. Zhang, B., Ahmad, W., Ahmad, A, Aslam, F., and Joyklad, P. (2022) A Scientometric Analysis Approach to Analyze the Present Research on Recycled Aggregate Concrete. Journal of Building Engineering, Vol.46, 103679, 1-31.
    19. Chu, H. H., Siddiq, B., Aslam, F., Javed, M. F., Wang, W., Joyklad, P., Khan, M. I., Qayyum, S., and Ali, R. (2022) Coupled Effect of Poly Vinyl Alcohol and Fly Ash on Mechanical Characteristics of Concrete, Ain Shams Engineering Journal, 13(3), 101633, 1-8.
    20. Li, X., Qin, D., Hu, Y., Ahmad, W., Ahmad, A., Aslam, F., and Joyklad, P. (2022) A Systematic Review of Waste Materials in Cement-Based Composites for Construction Applications. Journal of Building Engineering, Vol.45, 103447, 1-29.
    21. Liu, L., Yang, G., He, J., Liu, H., Gong, J., Yang, H., Yang, W., and Joyklad, P. (2022) Impact of Fibre Factor and Temperature on the Mechanical Properties of Blended Fibre-Reinforced Cementitious Composite, Case Studies in Construction Materials, Vol.16, e00773, 1-12.
    22. Rodsin, K., Joyklad, P., Hussain, Q., Mohamad, H., Buatik, A., Zhou, M., Chaiyasarn, K., Nawaz, A., Mehmood, T., and El-Nemr, A. (2022) Behavior of Steel Clamp Confined Brick Aggregate Concrete Circular Columns Subjected to Axial Compression. Case Studies in Construction Materials, Vol.16, e00815, 1-13.
    23. Yang, H., Liu, L., Yang, W., Liu, H., Ahmad, W., Ahmad, A., Aslam, F., and Joyklad, P. (2022) A comprehensive overview of geopolymer composites: A bibliometric analysis and literature review, Case Studies in Construction Materials, Vol. 16, e00830, 1-26.
    24. Suparp, S., Joyklad, P., Sirisonthi, A., and Hussain, Q. (2022) Analysis of Full-scale Precast Post-tension (FPP) Girder for Straddle Monorail – Experimental and FEA Study, Structures, Vol.36, 521-532.
    25. Ahmad, A., Aslam, F., and Joyklad, P. (2022) Compressive Strength Prediction of Fly Ash-based Geopolymer Concrete via Advanced Machine Learning Techniques, Case Studies in Construction Materials, Vol. 16, e00840, 1-16.
    26. Sirisonthi, A., Julphunthong, P., Joyklad, P., Suparp, S., Ali, N., Javid, M. A., Chaiyasarn, K., and Hussain, Q. (2022) Structural Behavior of Large-Scale Hollow Section RC Beams and Strength Enhancement using Carbon Fiber Reinforced Polymer (CFRP) Composites, Polymers, 14(1), 158, 1-22.
    27. Shang, M., Li, H., Ahmad, A., Ahmad, W., Ostrowski, K. A., Aslam, F., Joyklad, P., and Majka, T. M. (2022). Predicting the Mechanical Properties of RCA-Based Concrete Using Supervised Machine Learning Algorithms, Materials, 15(2), 647, 1-27.
    28. Ullah, S., Qureshi, M. I., Joyklad, P., Suparp, S., Hussain, Q., Chaiyasarn, K., and Yooprasertchai, E. (2022) Effect of Partial Replacement of E-Waste as a Fine Aggregate on Compressive Behavior of Concrete Specimens having Different Geometry with and without CFRP. Journal of Building Engineering. Journal of Building Engineering, Vol.50, 104151, 1-19.
    29. Javid, M. A.,Abdullah, M., Ali, N., Arif, S.,Shah, H., Joyklad, P., Hussain, Q. and Chaiyasarn, K. (2022) Extracting Travelers’ Preferences Toward Electric Vehicles Using the Theory of Planned Behavior in Lahore, Pakistan, Sustainability, 14(3), 1-17.
    30. Joyklad, P., Yooprasertchai, E., Wiwatrojanagul, P., Chaiyasarn, K., Ali, N., Hussain, Q. (2022) Use of Natural and Synthetic Fiber Reinforced Composites for Punching Shear of Flat Slabs: A Comparative Study, Polymers, 14(4), 1-17.
    31. Joyklad, P., Ali, N., Yooprasertchai, E., Jaffar, S. T. A., Magbool, H. M., Hussain, Q. and Chaiyasarn, K. (2022) An Investigative Study for the Prediction of Compressive Strength of Cement-clay Interlocking (CCI) Hollow Brick Masonry Walls, Case Studies in Construction Materials, Vol. 16, e01001, 1-15.
    32. Shahid, M. A.,Rashid, M. U.,Ali, N.,Chaiyasarn, K.,Joyklad, P., and Hussain, Q. (2022) Mechanical Experiments on Concrete with Hybrid Fiber Reinforcement for Structural Rehabilitation, Materials, 15(8), 1-19.
    33. Hussain, Q., Ruangrassamee, A., Joyklad, P. and Wijeyewickrema, A. C. (2022) Shear Enhancement of RC Beams Strengthened with Low-Cost Natural Fiber Rope Reinforced Polymer Composites, Buildings, 12(5), 1-22.
    34. Rodsin, K., Ali, N., Joyklad, P., Chaiyasarn, K., Al Zand, A. W. A., and Hussain, Q. (2022) Improving Stress-strain Behavior of Waste Aggregate Concrete using Affordable GFRP Composites, Sustainability, 14(11), 1-18.
    35. Javid, M. A., Al-Khatri, H. S., Al-Abri, S. S., Ali, N., Chaiyasarn, K., Joyklad, P. (2022) Travellers’ Perceptions on Significance of Travel Time Saving Attributes in Travel Behavior: A Case Study in Oman, Infrastructures, 7(6), 1-16.
    36. Suparp, S., Ali, N., Al Zand, A. W., Chaiyasarn, K., Rashid, M. U., Yooprasertchai, E., Hussain, Q., and Joyklad, P. (2022) Axial Load Enhancement of Lightweight Aggregate Concrete (LAC) using Environmentally Sustainable Composites, Buildings, 12(6), 1-17.
    37. Joyklad, P., Yooprasertchai, E., Rahim, A., Ali, N., Chaiyasarn, K., and Hussain, Q. (2022) Sustainable and Low-cost Hemp FRP Composite Confinement of B-waste Concrete, Sustainability, 14(13), 1-18.
    38. Joyklad, P., Ali, N., Chaiyasarn, K., Hussain, Q., and Suparp, S. (2022) Time-Dependent Behavior of Full-Scale Precast Post-tensioned (PCPT) Girders – Experimental and Finite Element Analysis, Case Studies in Construction Materials, Vol. 17, e01310, 1-17.
    39. Suparp, S., Sirisonthi, A., Ali, N., Saad, N., Chaiyasarn, K., Azab, M., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2022) Load versus Strain Relationships of Single and Continuous Span Full-Scale Pre-Cast Pre-Stressed Concrete Girders for Monorail Systems, Buildings, 12(8). 1-35.
    40. Suparp, S., Chaiyasarn, K., Ali, N., Gadagamma, C. K., Al Zand, A. W., Yooprasertchai, E., Hussain, Q., Joyklad, P., and Javid, M. A. (2022) Hemp FRRP Confined Lightweight Aggregate Concrete (LWAC) Circular Columns: Experimental and Analytical Study, Buildings, 12(9), 1-21.
    41. Joyklad, P., Ali, N., Chaiyasarn, K., Poovarodom, N., Yooprasertchai, E., Maqhool, H. M., Ruangrassamee, A. and Hussain, Q. (2022) Improvement of stress-strain behavior of brick-waste aggregate concrete using low-cost FCSM composites, Construction and Building Materials, Vol.351, 128946, 1-20.
    42. Aslam, M., Shehzad, M. U., Ali, A., Ali, N., Chaiyasan, K., Tahir, H., Joyklad, P., & Hussain, Q. (2022) Seepage and Groundwater Numerical Modelling for Managing Waterlogging in the Vicinity of the Trimmu–Sidhnai Link Canal, Infrastructures, 7(10), 144, 1-19.
    43. Ahmed, F., Loc, H. H., Park, E., Hassan, M., & Joyklad, P. (2022) Comparison of Different Artificial Intelligence Techniques to Predict Flood in Jhelum River, Water, 14(21), 3533, 1-18.
    44. Joyklad, P., Saingam, P., Ali, N., Ejaz, A., Hussain, Q., Khan, K., & Chaiyasarn, K. (2022) Low-cost Fiber Chopped Strand Mat Composites for Compressive Stress-Strain Enhancement of Concrete made with Brick Waste Aggregates, Polymers, 14(21), 4714, 1-18.
    45. Chaimahawan, P., Suparp, S., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2021) Finite Element Analysis of Reinforced Concrete Pile Cap using ATENA, Latin American Journal of Solids and Structures, 18(2), 1-17.
    46. Chaiyasarn, K., Hussain, Q., Joyklad, P., and Rodsin, K. (2021). New Hybrid basalt/E-Glass FRP Jacketing for Enhanced Confinement of Recycled Aggregate Concrete with Clay Brick Aggregate. Case Studies in Construction Materials, Vol.14, e00507, 1-17.
    47. Suwanmaneechot, P., Bongkarnb, T., Joyklad, P., and Julphunthon, P. (2021). Experimental and numerical evaluation of gamma-ray attenuation characteristics of concrete containing high-density materials. Construction and Building Materials, Vol.294, 123614, 1-12.
    48. Yooprasertchai, E., Dithaem, R., Arnamwong, T., Sahamitmongkol, R., Jadekittichoke, J., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2021). Remediation of Punching Shear Failure Using Glass Fiber Reinforced Polymer (GFRP) Rods. Polymers, 13(14), 2369, 1-18 pages.
    49. Suparp, S. and Joyklad, P. (2021). Flexural Behavior of Hollow Reinforced Concrete Haunched (RCH) Beams. Journal of Engineering Science and Technology, 16(4), 3267 - 3282.
    50. Hussain, Q., Ruangrassamee, A.,Tangtermsirikul, S., Joyklad, P., and Wijeyewickrema, A. C., (2021). Low-Cost Fiber Rope Reinforced Polymer (FRRP) Confinement of Square Columns with Different Corner Radii. Buildings, 11(8), 1-25.
    51. Yinh, S., Hussain, Q., Joyklad, P., Chaimahawan, P., Rattanapitikon, W., Limkatanyu, S., and Pimanmas, A., (2021). Strengthening Effect of Natural Fiber Reinforced Polymer Composites (NFRP) on Concrete. Case Studies in Construction Materials, Vol.15, e00653, 1-21.
    52. Sirisonthi, A., Suparp, S., Joyklad, P., Hussain, Q., and Julphunthong, P. (2021) Experimental Study of the Load-Deformation Behaviour of the Precast Post-Tensioned Continuous Girder for Straddle Monorail: Full-Scale Load Test under Service and Ultimate Loading Conditions. Case Studies in Construction Materials, Vol.15, e00666, 1-21.
    53. Inyai, T., Julphunthong, P., and Joyklad, P. (2021). Development of an Alternative Cementitious Materials Based on Calcium Carbide Residue and Silica Fume, Key Engineering Materials, Vol.904, pp.435-440.
    54. Ahmad, A., Ostrowski, K. A., Aslam, F., and Joyklad, P. (2021) A Scientometric Review of Waste Material Utilization in Concrete for Sustainable Construction. Case Studies in Construction Materials, Vol.15, e00683, 1-25.
    55. Ahmad, A., Ostrowski, K. A., Aslam, F., Joyklad, P., and Zajdel, P. (2021) Sustainable Approach of Using Sugarcane Bagasse Ash in Cement-Based Composites: A Systematic Review. Case Studies in Construction Materials, Vol.15, e00698, 1-28.
    56. Ahmad, W., Ahmad, A., Ostrowski, K. M., Aslam, F., Joyklad, P., and Paulina, Z. (2021) Application of Advanced Machine Learning Approaches to Predict the Compressive Strength of Concrete Containing Supplementary Cementitious Materials. Materials, 14(19), 5762, 1-17.
    57. Ahmad, A., Ahmad, W., Chaiyasarn, K., Ostrowski, K. A., Aslam, F., Zajdel, P., and Joyklad, P. (2021) Prediction of Geopolymer Concrete Compressive Strength using Novel Machine Learning Algorithms. Polymers, 13(19), 3389, 1-18.
    58. Yooprasertchai, E., Tiawilai, Y., Wittayawanitchai, T., Angsumalee, J., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2021) Effect of Shape, Number, and Location of Openings on Punching Shear Capacity of Flat Slabs, Buildings, 11(10), 484, 1-24.
    59. Chaiyasarn, K., Ali, N., Phuphasuwan, P., Poovarodom, N., Joyklad, P., Mohamad, H., Zhou, M., and Hussain, Q. (2021) Flexural Behavior of Natural Hybrid FRP Strengthened RC Beams and Strain Measurements using BOTDA, Polymers, 13(20), 3604, 1-22.
    60. Xu, Y., Ahmad, W., Ahmad, A., Ostrowski, K A., Dudek, M., Aslam, F. and Joyklad, P. (2021) Computation of High-Performance Concrete Compressive Strength using Standalone and Ensembled Machine Learning Techniques, Materials, 14(22), 7034, 1-18.
    61. Alyousef, R., Ahmad, W., Ahmad, A., Aslam, F., Joyklad, P., and Alabduljabbar, H. (2021) Potential Use of Recycled Plastic and Rubber Aggregate in Cementitious Materials for Sustainable Construction: A Review. Journal of Cleaner Production, Vol.329, 129736, 1-22.
    62. Joyklad, P., Ali, N., Verre, S., Magbool, H. M., El-Nemr, A., Qureshi, M. I., Hussain, Q., and Chaiyasarn, K. (2021) Experimental Study on the Out-of-plane Behaviour of Brick Masonry Walls Strengthened with Mortar and Wire Mesh: A Pioneer Study, Infrastructures, 6(11), 165, 1-12.
    63. Joyklad, P., Ali, N., Rashid, M. U., Hussain, Q., Magbool, H. M., El-Nemr, A., and Chaiyasarn, K. (2021) Strength Enhancement of Interlocking Hollow Brick Masonry Walls with Low-Cost Mortar and Wire Mesh, Infrastructures, 6(12), 166, 1-15.
    64. Shebl, H., El-Nemr, A., Hussain, Q., Joyklad, P., Ali, N. (2021) Finite Element Analysis of Glass Fiber Reinforced Polymer (GFRP) Reinforced Continuous Concrete Beams, Polymers, 13(24), 4468, 1-25.
    65. Joyklad, P., Hussain, Q., and Ali, N. (2020) Mechanical Properties of Cement-Clay Interlocking (CCI) Hollow Bricks, Engineering Journal, 24(3), 89-106.
    66. Hussain, Q., Ruangrassamee, R., Tangtermsirikul, S., and Joyklad, P. (2020) Behavior of Concrete Confined with Epoxy Bonded Fiber Ropes under Axial Load, Construction and Building Materials, Vol.263, 10 December, 1-14.
    67. Joyklad, P. and Hussain, Q. (2020) Lateral Response of Cement Clay Interlocking Brick Masonry Walls subjected to Earthquake Loads, Journal of Engineering Science and Technology, 15(6), 4320-4338.
    68. Suparp, S. and Joyklad, P. (2020) Effect of Different Truck Loads on Behavior of Bridge - A Comparative Analysis, Journal of Engineering Science and Technology, 15(6), 3836-3858.
    69. Rodsin, K., Hussain, Q., Joyklad, P., Nawaz, A., and Fazliani, H. (2020) Seismic Strengthening of Non-Ductile Bridge Piers Using Low-Cost Glass Fiber Polymers, Bulletin of the Polish Academy of Sciences: Technical Sciences, 68(6), 1457-1470.
    70. Julphunthong, P. and Joyklad, P. (2019) Utilization of Several Industrial Wastes as Raw Material for Calcium Sulfoaluminate Cement, Materials, 12(20), 1-12.
    71. Joyklad, P. and Hussain, Q. (2019) Performance of Cement Clay Interlocking Hollow Brick Masonry Walls subjected to Diagonal Compression, Journal of Engineering Science and Technology, 14(4), 2152-2170.
    72. Joyklad, P., Suparp, S. and Hussain, Q. (2019) Flexural Response of JFRP and BFRP Strengthened RC Beams, International Journal of Engineering and Technology, 11(3), 203-207.
    73. Suparp, S., Joyklad, P. and Hussain, Q. (2019) Shear Strengthening of RC Beams using Polyester Rope. International Journal of Engineering and Technology, 11(4), 267-272.
    74. Joyklad, P. and Hussain, Q. (2019) Axial compressive response of grouted cement–clay interlocking hollow brick walls, Asian Journal of Civil Engineering, Vol. 20 No. 5, pp.733-744.
    75. Chaichannawatik, B., Sirisonthi, A., Hussain, Q. and Joyklad, P. (2018). Mechanical Properties of Fiber Reinforced Concrete. Applied Mechanics and Materials, Vol. 875, pp. 174-178.
    76. Phutthanet, P., Tiantong, P., Julphunthong, P., Joyklad, P., Wang, L. and Chindaprasirt, P. (2018). Investigation of Gamma Radiation Shielding of Concrete Containing Blast Furnace Slag Waste via Experimental and Calculation Methods, Key Engineering Materials, Vol.765, pp.329-334.
    77. Julphunthong, P. and Joyklad, P. (2018). Investigation of Gamma Ray Shielding and Compressive Strength of Concrete Containing Barite and Ferrophosphorous, Key Engineering Materials, Vol.775, pp.618-623.
    78. Joyklad, P., Nawaz, A. and, Hussain, Q. (2018) Effect of Fired Clay Brick Aggregates on Mechanical Properties of Concrete, Suranaree Journal of Science and Technology, Vol. 25 No. 4; October – December, pp.349-362.
    79. Joyklad, P. & Suparp, S. (2017). Experimental Responses of Jacketed RC Beams. International Journal of Structural and Civil Engineering Research, 6(4), 245-251.
    80. Suparp, S. & Joyklad, P. (2015). Performance Enhancement of the Existing Bridges due to Overweight Vehicles with Multi-Axle Loading. Applied Mechanics and Materials, Vols. 752-753, 678-684.
    81. Suparp, S. & Joyklad, P. (2014). Appraisal of Strengthening Cost for Increasing Flexural Strength of Reinforced Concrete Slab Bridges in Thailand. Advanced Materials Research, 931-932, 490-495.
    82. Joyklad, P., Pimanmas, A. & Rajesh, D. P. (2012). Cyclic Performance of Beam-Column Joints with Extended Column Fixed at Base: Part I – Experimental Investigation. Magazine of Concrete Research, 64(9), 807-825.
    83. Pimanmas, A., Joyklad, P. & Warnitchai, P. (2010). Structural Design Guideline for Tsunami Evacuation Shelter. Journal of earthquake and tsunami, 4(4), 269-284.
    84. Joyklad, P. & Pimanmas, A. (2010). Cyclic Stress Development in Substandard Beam-column Joint. Proceedings of the Institution of Civil Engineers Journal Structures and Buildings, 164(3), 211-225.
    85. Pheeraphan, T., Joyklad, P. & Nimityongskul, P. (2006). Experimental Study on Blast Load Resistance of Ferrocement Panels. Journal of Ferrocement, 36(2), 808-817.

 

  • National Journal
    1. Shinwanit, K., Thongchom, C., Joyklad, P., Sanit-In, P. (2024). Flexural Behavior of Reinforced Concrete Beams Strengthened with External Posttension GFRP Rebars. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, submitted for publication.
    2. Tansuwan, D., Thongchom, C., Sanit-In, P., Joyklad, P. (2024). Experimental Study of Shear Behavior of CFRP-Strengthened Reinforced Concrete Deep Beams. Thailand Concrete Association Journal, submitted for publication.
    3. Joyklad, P. and Suparp, S. (2021). Nearly 60 Years of Waiting! New Equations of ACI318-19 for Evaluating Shear Strength of Slender Reinforced Concrete Members. KMUTT Research and Development Journal, 44(1,), 559-587.
    4. Budcha, P. and Joyklad, P. (2020). Demand-Capacity Ratio of Existing Reinforced Concrete Bridge Columns in Thailand according to Thai Seismic Design Measuring. Kasem Bundit Engineering Journal, 10(2), 87-111.
    5. Joyklad, P., Areecharoen, S. and Hussain, Q. (2018). Mechanical Properties of Local Cement-Clay Interlocking Bricks in Central Part of Thailand. SWU Engineering Journal, 13(2), 1-13.
    6. Joyklad, P., Ali, N. and Hussain, Q. (2018). Performance of Hollow Brick Made of Fly Ash, Cement and Sand. KMUTT Research and Development Journal, 41(1), 1-18.
    7. Pakpitpibool, T. and Joyklad, P. (2018). Development of Frame Element with Included Effect of Shear Deformation for Nonlinear Analysis of Reinforced Concrete Structures. KMUTT Research and Development Journal, 41(2), 133-149.
    8. Joyklad, P. and Hussain, Q. (2018). Experimental Study on Axial and Diagonal Compressive Behavior of Brick Masonry Walls. Kasem Bundit Engineering Journal, 8(2), 1-20.
    9. Hussain, Q. & Joyklad, P. (2017). Effect of Lateral Reinforcement Ratio on Strength and Ductility of RC Columns. Kasem Bundit Engineering Journal, 7(1), 1-16.
    10. Pakpitpibool, T. and Joyklad, P. (2017). Development of Frame Element for Nonlinear Finite Element Analysis of Reinforced Concrete Shear Walls Considering Shear Deformation. SWU Engineering Journal, 12(2), 1-17.
    11. Suwanmaneechot, P., Julphunthong, P., Morarai, P., Joyklad, P. & Pheeraphan, T. (2016). Development of High Performance Concrete for Bulletproof Wall Panel Application. Naresuan University Engineering Journal, 11(2), 15-22.
    12. Joyklad, P. & Suparp, S. (2014). An Approach of Bridge Strengthening for Cast-In-Situ Reinforced Concrete Slabs Loaded by Thai Trucks. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 25(1), 71-80.
    13. Suparp, S. & Joyklad, P. (2012). Response Ratios of Simple Beam Bridges Due to Thai Trucks and HL-93 Live Loadings. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 23(3), 54-64.
    14. Suparp, S. & Joyklad, P. (2012). Maximum Response Ratios of Three-Span Continuous Bridge Girders Due to Thai Trucks and HL-93 Live Loadings. KMUTT Research and Development Journal, 35(4), 501-518.
    15. Joyklad, P. & Pimanmas, A. (2012). Seismic Behavior of Lightly Reinforced Concrete Beam-Column Joints at First Floor. Kasem Bundit Engineering Journal, 2(1), 1-25.
    16. Joyklad, P. & Suparp, S. (2012). Book Review: Design of Concrete Structures 14th edition by A. H. Nilson, D. Darwin and C. W. Dolan. Kasem Bundit Engineering Journal, 2(2), 108-117.
    17. Suparp, S. & Joyklad, P. (2011). A Study on Load-carrying Behavior of Simple-supported Bridge Due to Thai Truck Loads. Kasem Bundit Engineering Journal, 1(1), 33-48.
    18. Joyklad, P. & Suparp, S. (2011). Article Review: Design philosophies of reinforced concrete beam-column joints. Kasem Bundit Engineering Journal, 1(1), 77-80.
    19. Suparp, S. & Joyklad, P. (2011). A Comparison of Internal Forces of Simple Supported Bridges Due to Thai Truck Loads with AASHTO Highway Loads. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 22(1), 25-35.
    20. Suparp, S. & Joyklad, P. (2011). A Comparison of Maximum Response of Three-Span Continuous Bridges Due to Thai Trucks with AASHTO Highway Live Loadings. KMUTT Research and Development Journal, 34(3), 317-344.
    21. Joyklad, P. & Pimanmas, A. (2011). Seismic Behavior of Substandard RC Beam-Column Joints Dominated by Cantilever Action. Kasem Bundit Engineering Journal, 1(3), 51-76.
    22. Jantanalikit, P., Joyklad, P. & Pimanmas, A. (2010). Experimental investigation of reinforced concrete beams strengthened by skeleton steel and ferrocement cover. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 21(1), 17-26.
    23. Joyklad, P., Chaimahawan, P. & Pimanmas, A. (2007). Assessment of seismic deficiency of existing reinforced concrete buildings in Bangkok. Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 18(3), 19-28.

 

  • International Conference
    1. Subhasinghe, R. S., Chaiyasarn, K., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2022, December 8-10). A Review of an FRP Concrete Strengthening: A Modern Approach, Paper presented at the 1st International Symposium on One Health, One World (OHOW2022), Pattaya, Thailand, 6 p.
    2. Htun, T. P., Chaiyasarn, K., Joyklad, P. and Hussain, Q. 2022, December 8-10). Effect of Waste Construction Aggregates on the Mechanical Properties of Steel Fiber Reinforced Concrete, Paper presented at the 1st International Symposium on One Health, One World (OHOW2022), Pattaya, Thailand, 6 p.
    3. Min, A., Weesakul, U., Chayasarn, K., Joyklad, P., and Hussain, Q. (2022, December 8-10). Bond Strength of Post-Installed Rebar in High Strength Concrete with Different Types of Recycled Aggregate, Paper presented at the 1st International Symposium on One Health, One World (OHOW2022), Pattaya, Thailand, 6 p.
    4. Sirisonthi, A., Julphunthong, P., Suparp, S. and Joyklad, P. (2019, September 4-6). Construction Techniques and Development of 1st Monorail System in Thailand, Paper presented at the International Association for Bridge and Structural Engineering (IABSE), (2019 IABSE Congress), The Javits Center, New York, 10 p.
    5. Suparp, S., Hussain, Q., Joyklad, P. and Woracharoensin, T. (2017, August 18-20). Axial Compressive Behavior of Rope Fiber Reinforced Polymer Composite Concrete, Paper presented at the 2ndInternational Conference on Material Engineering and Application (ICMEA 2017), Shanghai JinJiang Pacific Hotel, Shanghai, China, 4 p.
    6. Hussain, Q., Shoaib, S., Joyklad, P., Wongsopit, K. and Jarusbumrungroj, P. (2017, August 18-20). Confinement of Concrete by Rope, Paper presented at the 2nd International Conference on Material Engineering and Application (ICMEA 2017), Shanghai JinJiang Pacific Hotel, Shanghai, China, 4 p.
    7. Lam, L., Hussain, Q., Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2015, 24-25 April 2015). Behavior of RC Deep Beams Strengthened in Shear using Glass Fiber Reinforced Polymer with Mechanical Anchors. Paper presented at the International Conference on Environment and Civil Engineering (ICEACE 2015), Pattaya, Thailand, 6 p.
    8. Suparp, S., & Joyklad, P. (2014, 3rd – 5th September 2014). Effects of Increasing Weight Limits on Highway Bridges in Thailand. Paper presented at the 37th IABSE Symposium Madrid 2014, Madrid, Spain, 8 p.
    9. Suparp, S., & Joyklad, P. (2013, 10th – 14th November 2013). The Influence of Vehicular Loads on Safety Factors of Selected Reinforced Concrete Slab Bridges in Thailand. Paper presented at the 31th Conference of the ASEAN Federation of Engineering Organizations (CAFEO-31), Jakarta, Indonesia. 6 p.
    10. Suparp, S., & Joyklad, P. (2012, 11-14 December 2012). A Study on Simple Beam Bridge Responses due to Thai Truck Loads. Paper presented at the 4th International Science, Social Science, Engineering and Energy Conference (I-SEEC 2012), Petchburi, Thailand, 8 p.
    11. Pimanmas, A., & Joyklad, P. (2009, 12-13 January 2009). Effects of debonding on behaviors of substandard bridge piers. Paper presented at the In Proceedings of the Sixth Regional Symposium on Infrastructure Development (RSID6), Bangkok, Thailand, 6 p.
    12. Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2009, 12-13 January 2009). Assessment of seismic performance of existing bridge piers in Bangkok. Paper presented at the In Proceedings of the Sixth Regional Symposium on Infrastructure Development (RSID6), Bangkok, Thailand, 6 p.
    13. Juntanalikit, P., Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2009, 15-16 October 2009). Shear strengthening of reinforced concrete beams using ferrocement. Paper presented at the 8th International Symposium on New Technologies for Urban Safety of Mega Cities in Asia (USMCA-SEIKEN SYMPOSIUM 57), Incheon, Korea, 11 p.
    14. Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2008, 19-21 November 2008). The seismic behavior of reinforced concrete bridge pier with debonded reinforcements and interface dowels. Paper presented at the In Proceedings of the Eleventh East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering & Construction (EASEC-11) “Building a Sustainable Environment”, Taipei, Taiwan, 6 p.
    15. Pheeraphan, T., Joyklad, P., & Nimityongskul, P. (2006, 6-8 February 2006). Blast load test on ferrocement sandwich panels. Paper presented at the Eighth International Symposium and Workshop on Ferrocement and Thin Reinforced Cement Composites (FERRO8), Bangkok, Thailand, 12 p.

 

  • National Conference
    1. Dumduang, S., Lekhachrakul, S., Yindeesuk, S., Joyklad, P., and Tangtermsirikul, S. (2024, 25-27 January). Green Highway: The Application and Implementation of Hydraulic Cement (TIS.2594-2556) in Highway Bridge Design and Construction of Department of Highway in Thailand. Paper presented at the In Proceedings of Annual Concrete Conference 18, Nakhon Ratchasima, Thailand, 10 p.
    2. Phetcharat, S., Boontan, R., Ruekrai, R., Budcha, P., and Joyklad, P. (2023, 24 – 26 May). The Strength of Masonry Produced using Hemp Hurd and Stalk with Bark of Hemp. Paper presented at the In Proceedings of the 28th National Conference on Civil Engineering (NCCE28), Phuket, Thailand, 5 p.
    3. Suwanmaneechot, P., Julphunthong, P., & Joyklad, P. (2016, 28-30 June). Performance of Modified Concrete Panels for Resisting of High-Velocity Bullet Impacts. Paper presented at the In Proceedings of the 21th National Conference on Civil Engineering (NCCE21), Songkhla, Thailand, 5 p.
    4. Phutthanet, P., Julphunthong, P., & Joyklad, P. (2016, 28-30 June). Development of Special Radiation Shielding Concretes Using Barite and Evaluating their Shielding Characteristics. Paper presented at the In Proceedings of the 21th National Conference on Civil Engineering (NCCE21), Songkhla, Thailand, 6 p.
    5. Suparp, S., & Joyklad, P. (2011, 18-19 March). A Study on Load-carrying Behavior of Three-span Continuous Bridge Due to Thai Truck Loads. Paper presented at the In Proceedings of the 16th National Conference on Civil Engineering (NCCE16), Pattaya, Thailand, 12 p.
    6. Joyklad, P., Jantanalikit, P., & Pimanmas, A. (2009, 20-22 October). Shear strengthening of RC beams using web steel and ferrocement cover. Paper presented at the In Proceedings of Annual Concrete Conference 5, Nakhon Ratchasima, Thailand, 6 p.
    7. Pimanmas, A., & Joyklad, P. (2008, 14-16 May). Design concepts for evacuation shelter in tsunami hazard areas. Paper presented at the In Proceedings of the 13th National Conference on Civil Engineering (NCCE13), Pattaya, Thailand, 6 p.
    8. Suparp, S., & Joyklad, P. (2008, 14-16, May). A study of construction and design concepts of the fashion island’s bridge. Paper presented at the In Proceedings of the 13th National Conference on Civil Engineering (NCCE13), Pattaya, Thailand, 6 p.
    9. Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2008, 14-16 May). Structural evaluation and strengthening of existing buildings in tsunami hazard areas. Paper presented at the In Proceedings of the 13th National Conference on Civil Engineering (NCCE13), Pattaya, Thailand, 6 p.
    10. Pimanmas, A., & Joyklad, P. (2007, 2-4 May). Measures for tsunami evacuation shelters in Phuket and Pang-Nga. Paper presented at the In Proceedings of the 12th National Convention on Civil Engineering (NCCE12), Phitsanulok, Thailand, 6 p.
    11. Joyklad, P., & Pimanmas, A. (2007, 2-4 May). Design guidelines for evacuation shelter in tsunami hazard area. Paper presented at the In Proceedings of the 12th National Convention on Civil Engineering (NCCE12), Phitsanulok, Thailand, 5 p.
    12. Joyklad, P., Pheeraphan, T., & Nimityongskul, P. (2005, 2-5 May). Development of ferrocement panel to resist blast load. Paper presented at the In Proceedings of the 10th National Convention on Civil Engineering (NCCE10), Pattaya, Thailand, 6 p.
    13. Pheeraphan, T., Joyklad, P., & Nimityongskul, P. (2005, 25-27 October). Blast load test of ferrocement panels. Paper presented at the The first Annual Concrete Conference, Rayong, Thailand, 6 p.

 

3.1 สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัต

  1. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, 2560, คอนกรีตสำหรับป้องกันกระสุนปืนและกรรมวิธีการผลิต, เลขที่ 13289, 21 พฤศจิกายน 2560 – 1 พฤศจิกายน 2565.

 

3.2 หนังสือ/ตำราเรียนที่มีการวางขาย

  1. อมร พิมานมาศ, ปรีดา ไชยมหาวัน และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2555). การออกแบบโครงสร้างฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง. จัดจำหน่ายโดย : บริษัท ซีวิลเอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์แอนด์ เทรนนิ่ง, 487 หน้า.
  2. อมร พิมานมาศ และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2555). การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กต้านแผ่นดินไหวขั้นสูง. จัดจำหน่ายโดย : บริษัท ซีวิลเอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์แอนด์ เทรนนิ่ง, 327หน้า.
  3. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2558). คู่มือแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงสำเร็จรูปหน้าตัดตัน. จัดจำหน่ายโดย : บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน), 115 หน้า.
  4. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ สุนิติ สุภาพ. (2558). คู่มือท่อคอนกรีตสำเร็จรูป. จัดจำหน่ายโดย : บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน), 66 หน้า.
  5. อมร พิมานมาศ และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2561). คอนกรีตเสริมเหล็ก. จัดจำหน่ายโดย : อมร พิมานมาศ และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, 1200 หน้า.

 

3.3 ตำราเรียน

  1. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง และภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ (2563). วิชา วศย 561 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง (Advanced Concrete Technology), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559), ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 550 หน้า.
  2. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และพงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง (2563). วิชา วศย 251 วิทยาการคอนกรีต (Concrete Technology), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560), ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 400 หน้า.

 

3.4 เอกสารคำสอน

  1. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2564). วิชา วศย 533 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง (Advanced Reinforced Concrete Design), หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2554), ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 1180 หน้า

 

3.5 เอกสารประกอบการสอน

  1. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2558). วิชา วศย 321 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2553, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 915 หน้า.
  2. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2559). วิชา วศย 321 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ภาคปฏิบัติ, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2553, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 429 หน้า.
  3. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2559). วิชา วศม 531 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2554), ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 430 หน้า.

 

3.6 การร่วมเป็นบรรณาธิการของหนังสือ

  1. แนวทางองค์ความรู้ประกอบการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง. บรรณาธิการ โดย ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และอมร พิมานมาศ, สภาวิศวกร, 361 หน้า

 

3.7 การเขียนบทหนึ่งในหนังสือ

  1. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง, สสิกรณณ์ เหลืองวิชชเจริญ, วรจักร จันทร์แว่น และ ภาณุวัฒน์ จ้อย-กลัด, “การคำนวณออกแบบประตูสำหรับป้องกันแรงระเบิดจากภัยก่อการร้าย,” ใน ผลงานเด่นทางวิศวกรรมโครงสร้าง, (บรรณาธิการโดย อนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน ประจำปี 2564 – 2565), คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา ประจำปี 2563 – 2565, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.), บทที่ 4, หน้า 59-135, 2566.
  2. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และอมร พิมานมาศ, “ความรู้พื้นฐานสำหรับคอนกรีตเสริมเหล็ก,” ใน แนวทางองค์ความรู้ประกอบการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง, (บรรณาธิการโดย ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ อมร พิมานมาศ), สภาวิศวกร,หน้า 169-249, 361 หน้า, 2558.
  3. สุนิติ สุภาพ, อาทิตย์ เพชรศศิธร. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และอมร พิมานมาศ, “กลศาสตร์ และการวิเคราะห์โครงสร้าง,” ใน แนวทางองค์ความรู้ประกอบการสอบเลื่อนระดับใบอนุญาตเป็นสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา หมวดวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง, (บรรณาธิการโดย ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และอมร พิมานมาศ), สภาวิศวกร,หน้า 8-167, 361 หน้า, 2558.

 

3.8 งานบรรยายทางวิชาการ (48 คำเชิญ)

  1. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบเสายาว, บันได และแรงยึดเหนี่ยว. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิธีกำลัง (เตรียมความพร้อมสู่สามัญวิศวกร), ห้องประชุมชั้น 4, อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 9-10 และ 15-16 มีนาคม 2555.
  2. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบฐานรากรับแรงเยื้องศูนย์. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การคำนวณแก้ไขงานฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก, ห้องประชุมชั้น 4, อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 29-30 มีนาคม 2555.
  3. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. Design of Seismic Resistant Bridge Structures. การอบรมเชิงปฏิบัติการระดับนานาชาติเรื่อง Designing and Implementation of Bridge and Tunnel Projects for BIMSTEC & Palestine, กรมทางหลวง, 21-24 กุมภาพันธ์ 2555.
  4. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีตเนื่องจากน้ำหนักบรรทุกและวิธีการออกแบบป้องกัน. การอบรมเรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหาการแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีต, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 29 สิงหาคม 2555.
  5. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. Design of Seismic Resistant Bridge Structures. การอบรมเชิงปฏิบัติการระดับนานาชาติ ในหัวข้อ “Designing and Implementation of Bridge and Tunnel Projects for BIMSTEC & Palestine”, กรมทางหลวง, 5 กันยายน 2556.
  6. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. คอนกรีตวิทยา (Concrete technology), ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 7-9 มีนาคม 2556.
  7. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การวิบัติของโครงสร้างเนื่องมาจากการกระตุ้นประเภทต่างๆ (Structural failures due to various kind of excitation). การอบรมเรื่อง นิติวิศวกรรมในงานก่อสร้างอาคาร (Forensic Engineering in Building Construction), ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 22-24 สิงหาคม 2556.
  8. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด.การคำนวณออกแบบสะพานเพื่อต้านแผ่นดินไหว. การอบรมเรื่อง โครงสร้างพื้นฐานกับมาตรการรับมือความเสี่ยงภัยต่อแผ่นดินไหว, ห้องประชุมใหญ่ 3503 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (พัฒนาการ), 13 มีนาคม 2257.
  9. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีต. การอบรมเรื่อง การแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีตเนื่องจากน้ำหนักบรรทุกและวิธีการออกแบบป้องกัน, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 7-8 พฤษภาคม 2557.
  10. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. คอนกรีตวิทยา (Concrete technology)., ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 25-27 กรกฎาคม 2557.
  11. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การป้องกันและแก้ไขปัญหาคอนกรีต สำหรับงานโครงสร้างพื้นฐาน (เหมาะสำหรับภาคีวิศวกรที่ต้องการเลื่อนระดับเป็นสามัญวิศวกร). การอบรมเรื่อง การแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีตเนื่องจากน้ำหนักบรรทุกและวิธีการออกแบบป้องกัน, ห้องประชุมเฟื่องฟ้า อาคารบริหาร ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 28-29 สิงหาคม 2557.
  12. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. โครงการสัมมนาเรื่อง ความ (ไม่) ปลอดภัยในงานก่อสร้าง. การอบรมเรื่อง หลักความปลอดภัยในงานก่อสร้างโครงสร้าง และการตรวจสอบ, ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ, 6 มีนาคม พ.ศ.2558.
  13. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ภาพรวมของการออกแบบแรงเฉือนในยุคปัจจุบัน. การอบรมเรื่อง พัฒนาการล่าสุดในการออกแบบแรงเฉือนสำหรับโครงสร้างคอนกรีต-ขั้นต้น, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 30 เมษายน 2559.
  14. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การทดสอบวัสดุในงานโยธาปฏิบัติ. อาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ, 4 มิถุนายน 2559.
  15. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. แรงเฉือนเสา รับแรงแผ่นดินไหว. การอบรมเรื่อง พัฒนาการล่าสุดในการออกแบบแรงเฉือนสำหรับโครงสร้างคอนกรีต-ขั้นต้น, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 23 กรกฎาคม 2559.
  16. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. นวัตกรรมและเทคโนโลยีของการออกแบบ วิเคราะห์โครงสร้าง. การอบรมเรื่อง เทคโนโลยีการก่อสร้างด้วยระบบ BIM, ห้องประชุม ณ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตพัฒนาการ, 23 มีนาคม 2560.
  17. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. องค์ความรู้การสอบสัมภาษณ์สามัญโยธา ด้านโครงสร้าง และการก่อสร้าง. การอบรบเรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา, กรมชลประทาน, ปากเกร็ด, กรุงเทพฯ, 24 พฤษภาคม และ 7 มิถุนายน 2560.
  18. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (1) ความเสี่ยงภัยและอันตรายจากแผ่นดินไหว และ (2) การเตรียมความพร้อมรับมือแผ่นดินไหว. แนวทางรับมือและป้องกันอุบัติภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม, ห้องกิ่งกัญชา 1 ชั้น 5, โรงแรมโฟร์วิงส์, สุขุมวิท, ส่วนพัฒนากายภาพ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 8 พฤษภาคม 2561.
  19. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. องค์ความรู้การสอบสัมภาษณ์สามัญโยธา การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก. การอบรมเรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา, โรงแรม SC Park, สภาวิศวกร, 26 มิถุนายน พ.ศ.2560.
  20. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. พฤติกรรมของวัสดุ และแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างต้านแรงระเบิด. โครงการอบรม การออกแบบโครงสร้างเพื่อต้านทานแรงระเบิด, ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ, 23-24 สิงหาคม พ.ศ.2560.
  21. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. รายละเอียดการออกแบบโครงสร้าง การเสริมเหล็กเพื่อเพิ่มความเหนียว และตัวอย่างการออกแบบสะพานต้านแผ่นดินไหว. โครงการอบรม การออกแบบสะพานต้านแผ่นดินไหว, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 30-31 สิงหาคม 2560.
  22. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ภาพรวมของการออกแบบแรงเฉือนในยุคปัจจุบัน และแรงเฉือนในเสารับแรงแผ่นดินไหว. พัฒนาการล่าสุดในการออกแบบแรงเฉือนสำหรับโครงสร้างคอนกรีต (รุ่น 2) , ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 15-16 กันยายน 2560.
  23. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ความรู้เรื่อง ด้านการออกแบบต้านแผ่นดินไหวและแรงลม. การอบรมเรื่อง การเตรียมความพร้อมเข้ารับการสัมภาษณ์เป็นสามัญวิศวกรโยธา รุ่นที่ 5, โรงแรม SC Park, กรุงเทพฯ, สภาวิศวกร, 20 มกราคม พ.ศ.2561.
  24. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ความเสียหายเชิงโครงสร้างของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กและอาคารโครงสร้างเหล็ก เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้และประสบภัยธรรมชาติ, สมาคมประกันวินาศภัยไทย, 28 มีนาคม 2561.
  25. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. แนวคิดการออกแบบอาคารต้านทานแรงแผ่นดินไหว. การอบรมเรื่อง การออกแบบอาคารโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กต้านทานแรงแผ่นดินไหวในภาคเหนือ, ณ โรงแรมวินทรี ซิตี้รีสอร์ท จ.เชียงใหม่, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 31 สิงหาคม – 1 กันยายน 2561.
  26. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุนิติ สุภาพ. องค์ความรู้พื้นฐานสำหรับการควบคุมคุณภาพงานก่อสร้าง, ณ แรนโชชาญวีร์ รีสอร์ท แอนด์ คันทรี คลับ เขาใหญ่, นครราชสีมา, บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน), 1 มิถุนายน – 3 สิงหาคม
  27. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. หลักพื้นฐานสำหรับวิศวกรผู้ออกแบบในอุตสาหกรรมก่อสร้าง, ณ โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเหลือง-สีชมพู, กรุงเทพฯ, บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน), 1 กันยายน – 6 ตุลาคม
  28. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. องค์ความรู้ด้านวิศวกรรมโครงสร้างเพื่อการตรวจสอบและประเมินอาคารที่มีอยู่เดิม, สมาคมประกันวินาศภัยไทย, 25 มกราคม 2562.
  29. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (1) เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง (สำหรับผู้ที่ไม่ใช่วิศวกรโยธา) เพื่อป้องกันการวิบัติจากน้ำหนักบรรทุกและวิบัติภัย และ (2) การตรวจสอบรอยแตกร้าวและการเสื่อมสภาพของอาคาร สำหรับผู้ที่ไม่ใช่วิศวกรโยธา. โครงการแนวทางรับมือและป้องกันอุบัติภัยจากแผ่นดินไหวและอาคารถล่ม, ห้องการ์เด้น 1 ชั้น 2, โรงแรมแอมบาสเดอร์สุขุมวิท, สุขุมวิท, ส่วนพัฒนากายภาพ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 7 และ 21 พฤษภาคม 2562.
  30. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ฟังก์ชันและตรีโกณมิติ. โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี, หอประชุมไชยานุภาพ, โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม, พิษณุโลก, 13-15 พฤษภาคม 2562.
  31. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบและเสริมกำลังไซโลคอนกรีต. การออกแบบ ก่อสร้างและซ่อมแซมไซโลคอนกรีต, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 7 มิถุนายน 2562.
  32. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (1) การออกแบบโครงดัดให้มีความเหนียวพิเศษ และ (2) การออกแบบจุดต่อแผ่นพื้นและกำแพง. การออกแบบชิ้นส่วนพิเศษของโครงสร้างสำหรับต้านการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 13-14 มิถุนายน 2562.
  33. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ภาพรวมสำหรับมาตรฐานการออกแบบโครงสร้างต้านแผ่นดินไหวสำหรับประเทศไทย. แนวทางใหม่สำหรับการออกแบบโครงสร้างเพื่อต้านการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว, ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 16 ตุลาคม 2562.
  34. พิชัย นิมิตยงสกุล, นนท์พัฒน นิมิตยงสกุล และ ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ภาพรวมของงานคอนกรีตในประเทศไทยอดีต ปัจจุบัน อนาคต. หลักพื้นฐานของคอนกรีต การประยุกต์ใช้และการพัฒนา, ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3  อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 24 ตุลาคม 2562.
  35. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบ และทฤษฎีของเฟอร์โรซีเมนต์. เฟอร์โรซีเมนต์ แนวคิด การพัฒนาและการประยุกต์สำหรับประเทศไทย, ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 31 ตุลาคม 2562.
  36. พงษ์ธร จุฬพันธ์ทอง และ ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. คอนกรีตสำหรับงานยุทธการทางทหาร (กันกระสุนและรังสี). คอนกรีตพิเศษ : แนวคิด ส่วนผสม การทดสอบ และการใช้งาน, ณ ห้อง B108, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย, ปทุมธานี, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 12-13 ธันวาคม 2562
  37. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. แรงกระทำเนื่องจากแรงดันน้ำสถิต กระแสน้ำและสึนามิ. การวิเคราะห์โครงสร้างสำหรับน้ำหนักบรรทุกไม่ปรกติในโครงสร้างคอนกรีต, ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 17-18 ธันวาคม 2562.
  38. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ปรัชญาการออกแบบ พัฒนาการของมาตรฐานการออกแบบ การเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน. การประยุกต์ใช้มาตรฐาน ACI318-19 สำหรับการออกแบบในประเทศไทย ชุดย่อยที่  1 , ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 10 มกราคม 2563.
  39. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. พัฒนาการของ ACI318 และความสัมพันธ์กับมาตรฐานการออกแบบอาคารคอนกรีตของประเทศไทย. โครงการอบรม ACI318-19 และการประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบเพื่อการพัฒนาของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21, ณ ห้องประชุมชั้น 6 สำนักงานยุทธโยธาทหาร, กองบัญชาการกองทัพไทย, กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 18 กุมภาพันธ์ 2563.
  40. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ประเด็นสำคัญที่ ACI318-19 มีความจำเป็นสำหรับการออกแบบในยุคปัจจุบัน. การประยุกต์ใช้มาตรฐาน ACI318-19 สำหรับการออกแบบในประเทศไทย ชุดย่อยที่  4 (ปรับปรุง) : เปรียบเทียบมาตรฐานในประเทศไทยกับ ACI318-19 และ การออกแบบแผ่นพื้นสองทาง, ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 3 อาคาร วสท., กรุงเทพฯ, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 21 ตุลาคม 2563.
  41. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การทดสอบคานสะพานรถไฟฟ้ารางเดี่ยวขนาดเท่าของจริง. เจาะลึกงานวิศวกรรมในโครงการก่อสร้าง : โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยวสายสีชมพู-เหลือง, การบรรยายแบบออนไลน์, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 31 สิงหาคม 2564.
  42. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. ตัวอย่างการวิเคราะฐานรากรับเครื่องจักรทั้งแบบฐานแผ่ และแท่นหัวเข็ม. หลักมูลของการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก: องค์อาคารสำคัญ, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 25 มีนาคม 2565.
  43. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การสร้างเส้นโค้งปฏิสัมพันธ์อย่างง่ายสำหรับการคำนวณออกแบบเสาสั้น และการประยุกต์สำหรับกรณีเสายาว. หลักมูลของการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก: องค์อาคารสำคัญ, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 22 เมษายน 2565.
  44. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. พฤติกรรมของกำแพงคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรงในระนาบทางดิ่ง การออกแบบกำแพงแบกทานที่รวมผลของความชะลูด. หลักมูลของการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก: องค์อาคารสำคัญ, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 6 พฤษภาคม 2565.
  45. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. พัฒนาการของ ACI318-19 และผลกระทบต่อการออกแบบในประเทศไทย. การประยุกต์ใช้มาตรฐาน ACI318-19 สำหรับการออกแบบในประเทศไทย รุ่น 2 ชุดย่อยที่ 1 : การออกแบบคานและเสา, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 22 กรกฎาคม พ.ศ.2565.
  46. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. พฤติกรรมของวัสดุคอนกรีตภายใต้แรงกระทำเสมือนแผ่นดินไหว. การประยุกต์ใช้มาตรฐาน ACI318-19 สำหรับการออกแบบในประเทศไทย ชุดย่อยที่ 4 : ความเชื่อมโยงของ ACI318-19 สู่ มยผ.1301/1302-61, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 16 สิงหาคม พ.ศ.2565.
  47. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบถังน้ำกลมและการออกแบบถังน้ำสี่เหลี่ยม. RC Design After College การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กหลังระดับปริญญาตรี รุ่นที่ 8, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2565.
  48. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบคานแคบและคานซ่อน. RC Design After College การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กหลังระดับปริญญาตรี รุ่นที่ 8, การบรรยายแบบออนไลน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2565.
  49. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การวิเคราะห์หน้าตัดรับแรงดัด. การออกแบบโครงสร้างคอนกรีต บนพื้นฐานของ ACI318-19 (หลักสูตรปรับปรุงใหม่), สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 2 มิถุนายน 2566.
  50. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. การออกแบบถังน้ำกลมและการออกแบบถังน้ำเหลี่ยม. การออกแบบโครงสร้างคอนกรีต บนพื้นฐานของ ACI318-19 (หลักสูตรปรับปรุงใหม่), สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 2 มิถุนายน 2566.
  51. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, หลักการคำนวณออกแบบสำหรับโครงสร้างต้านแผ่นดินไหว, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้องประชุมทองกวาว อาคารเรียนรวมและสารนิเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19 ก.พ. 2567.
  52. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, การทดลองในการทดสอบทางวิศวกรรมสำหรับโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ารางเดี่ยวแห่งแรกของประเทศไทย, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้อง 18901 อาคารเรียนรวม 18 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 29 ก.พ. 2567.
  53. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, ภาพรวมของมาตรฐานต้านแผ่นดินไหวสำหรับประเทศไทย, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้องประชุมวงศ์วรกุล ชั้น 5 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9 มี.ค.2567.
  54. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, การคำนวณออกแบบอาคารต้านการไหวสะเทือนตามกฎกระทรวง 2564, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้อง EN 4406 อาคาร EN4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18 มี.ค. 2567.
  55. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, การตื่นรู้ด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหว: ความเสียหายและการป้องกัน, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้อง 22-101 อาคาร 22 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 21 มี.ค. 2567.
  56. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, วิศวกรรมแผ่นดินไหว: มูลฐาน, การคำนวณออกแบบ, รายละเอียดโครงสร้าง, และการควบคุมงานก่อสร้าง, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้อง EN617 อาคารเรียนรวมคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 26-27 มี.ค. 2567.
  57. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, การวิบัติของโครงสร้าง: มูลเหตุและข้อเตือนระวัง, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้องประชุมไตรวิกรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อาคาร 38 มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 12 มิ.ย. 2567.
  58. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, เทคนิคการฟื้นฟูและเสริมกำลังโครงสร้างบนพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), ห้องประชุมอาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16 มิ.ย. 2567.
  59. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, การทดสอบสำคัญในงานวิศวกรรมโยธาปฎิบัติ, โครงการบริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้เงินจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2567 (โครงการอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบันด้านวิศวกรรมโครงสร้างแก่สังคมวิศวกรรมโยธา), อาคาร TB5 ห้อง 5104 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ศูนย์สามพร้าว, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19 มิ.ย. 2567.

 

3.9 บทความในนิตยสาร (23 บทความ)

  1. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ อมร พิมานมาศ. (2551, มกราคม-กุมภาพันธ์). การก่อสร้างสะพานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่องแบบชิ้นส่วนสำเร็จรูปชนิดดึงลวดภายนอก. โยธาสาร ปีที่ 20
  2. ประกาศิต จันทนะลิขิต, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ อมร พิมานมาศ. (2552, มกราคม-กุมภาพันธ์). การใช้เฟอร์โรซีเมนต์ในการเสริมกำลังคานคอนกรีตเสริมเหล็ก. โยธาสาร ปีที่ 21
  3. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ อมร พิมานมาศ. (2552, กรกฎาคม – สิงหาคม). เฟอร์โรซีเมนต์. โยธาสาร ปีที่ 21, หน้า 41-49.
  4. สุนิติ สุภาพ, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ ภาณุ รักษาสัตย์. (2555, มกราคม – มีนาคม). การออกแบบบริเวณสมอยึดของคานคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงทีหลังรูปกล่องหล่อทีละส่วน. โยธาสาร ปีที่ 24
  5. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ สุนิติ สุภาพ. (2555, กรกฎาคม – กันยายน). วิวัฒนาการของน้ำหนักรถบรรทุกสำหรับออกแบบสะพานในประเทศไทย. โยธาสาร, ปีที่ 24, หน้า 31-42.
  6. ภัทรพล โสภารักษ์, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ วัจน์วงค์ กรีพละ. (2556, กรกฎาคม – กันยายน). เฟอร์โรซีเมนต์และการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง. โยธาสาร, ปีที่ 25, หน้า 7-15.
  7. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ สุนิติ สุภาพ. (2557, มกราคม-กุมภาพันธ์). คอนกรีตเสริมเหล็ก : จากแหล่งกำเนิดสู่สยามประเทศ. วิศวกรรมสาร, ปีที่ 67, หน้า 17-25.
  8. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และ อมร พิมานมาศ. (2558, มกราคม-กุมภาพันธ์). การออกแบบอาคารต้านอัคคีภัย ตอนที่ 1 : พฤติกรรมของวัสดุภายใต้อัคคีภัย. วิศวกรรมสาร, ปีที่ 68, หน้า 43-51.
  9. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2559, มกราคม-มีนาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ก้าวย่างของวิศวกรรมสะพานในประเทศไทย : ตอนที่ 1 สุโขทัย-อยุธยา, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 4, ฉบับที่ 1, หน้า 14.
  10. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2559, เมษายน-มิถุนายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง มหัศจรรย์ชุดเฟืองท้าย, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2, หน้า 14.
  11. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2559, กรกฎาคม-กันยายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง สุดยอดหุ่นโบราณ, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 4, ฉบับที่ 3, หน้า 14.
  12. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุจินต์ นิ่มดี. (2559, ตุลาคม-ธันวาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง สะพานส่งน้ำโรมัน, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 4, ฉบับที่ 4, หน้า 14.
  13. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2560, มกราคม-มีนาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ก้าวย่างของวิศวกรรมสะพานในประเทศไทย : ตอนที่ 2 กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 5, ฉบับที่ 1, หน้า 14.
  14. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2560, เมษายน-มิถุนายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ก้าวย่างของวิศวกรรมสะพานในประเทศไทย : ตอนที่ 3 กรุงรัตนโกสินทร์ตอนกลาง, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 5, ฉบับที่ 2, หน้า 14.
  15. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุจินต์ นิ่มดี. (2560, กรกฎาคม-กันยายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ท่องโลกจักรยาน, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 5, ฉบับที่ 3, หน้า 14.
  16. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุจินต์ นิ่มดี. (2560, ตุลาคม-ธันวาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ดำดิ่งไปกับเรือดำน้ำ, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 5, ฉบับที่ 4, หน้า 14.
  17. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุจินต์ นิ่มดี. (2561, มกราคม-มีนาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ย้อนเวลากับนวัตกรรมนาฬิกา, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 6, ฉบับที่ 1, หน้า 14.
  18. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด และสุจินต์ นิ่มดี. (2561, เมษายน-มิถุนายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ย้อนเวลากับนวัตกรรมนาฬิกา 2, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2, หน้า 14.
  19. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2561, กรกฎาคม-กันยายน). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ก้าวย่างของวิศวกรรมสะพานในประเทศไทย : ตอนที่ 4 สะพานรถไฟแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภาค 1, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 6, ฉบับที่ 3, หน้า 14.
  20. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2561, ตุลาคม-ธันวาคม). ช่างคิด ช่างทำ เรื่อง ก้าวย่างของวิศวกรรมสะพานในประเทศไทย : ตอนที่ 5 สะพานรถไฟแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภาค 2, สารสภาวิศวกร, ปีที่ 6, ฉบับที่ 4, หน้า 14.
  21. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2562). เคล็ด (ไม่) ลับ ในการประมาณขนาดหน้าตัด คาน ค.ส.ล. ฉบับคนบ้านไกลเวลาน้อย, บทความวิทยาการ สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ลำดับที่ 18, 8 หน้าภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2562). เคล็ด (ไม่) ลับ ในการประมาณขนาดหน้าตัด คาน ค.ส.ล. ฉบับคนบ้านไกลเวลาน้อย, บทความวิทยาการ สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ลำดับที่ 18, 8 หน้า
  22. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2563). Ruck-A-Chucky Bridge: จินตนาการเหลือล้ำ สร้างได้จริงหรือแค่เพ้อฝัน, บทความวิทยาการ สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ลำดับที่ 30, 9 หน้า
  23. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด. (2563). Rio Colorado Bridge: ผลงานฝากชื่อให้โลกจำว่า ข้าชื่อ T Y Lin, บทความวิทยาการ สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ลำดับที่ 40, 10 หน้า
  24. ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด (2564). รชฎ : เงินตราอันมีค่าแห่งวงการวิศวกรโครงสร้างไทย, บทความวิทยาการ สมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย, ลำดับที่ 41, 22 หน้า
  25. ทัศน์พล อินต๊ะปัญโญ, ณัฐพงศ์ มกระธัช, สำเริง รักซ้อน, ภาณุวัฒน์ จ้อยกลัด, อรรถสิทธิ์ ศิริสนธิ, และสุนิติ สุภาพ (2566, ตุลาคม-ธันวาคม) การสำรวจตรวจค้นการก่อรูปของเอททริงไกด์ที่ล่าช้าในคานคอนกรีตอัดแรงของโครงการรถไฟฟ้ารางเดี่ยวแห่งแรกของประเทศไทย. วิศวกรรมสาร, ปีที่ 76 ฉบับที่ 4, หน้า 9-25.

4.1 ความภาคภูมิใจ/รางวัลที่ได้รับ

  1. ศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2563 (ประเภทนักวิชาการ), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  2. พ.ศ.2550 นักเรียนทุนในโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 10 (The Tenth Royal Golden Jubilee Ph.D. Program Scholarship) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  3. พ.ศ.2549 นักเรียนทุนของสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (Sirindhorn International Institute of Technology Scholarship) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  4. พ.ศ. 2546 นักเรียนทุนรัฐบาลไทย (The Royal Thai Government Scholarship)

 

4.2 รางวัลเกี่ยวกับงานวิจัย

  1. รางวัลนำเสนอยอดเยี่ยม (The Best Presentation Award) ในการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ The Sixth Regional Symposium on Infrastructure Development (RSID6), 12-13 มกราคม พ.ศ.2552, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย
  2. รางวัลนำเสนอยอดเยี่ยม (The Best Presentation Award) ในการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ The KKU International Conference 2014 (KKU-IENC 2014), 27-29 มีนาคม 2557, ขอนแก่น, ประเทศไทย
  3. รางวัลนำเสนอยอดเยี่ยม (The Best Presentation Award) ในการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ The 8th International Conference on Key Engineering Materials (ICKEN 2018), 16-18 มีนาคม 2561, โอซาก้า, ประเทศญี่ปุ่น
  4. ผลงานวิจัยดีเด่นของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี พ.ศ.2561 โครงการ “การบูรณะโบราณสถานเพื่อรากฐานการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน”
  5. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ประเภทการเผยแพร่ผลงานวิจัย ระดับเหรียญทอง ประจำปี 2564, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  6. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ประเภทผลงานวิจัยระดับนานาชาติเฉพาะปี ประจำปี 2565, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  7. รางวัลนักวิจัยสร้างชื่อเสียง ด้านการผลิตนวัตกรรมเพื่อสังคม ประจำปี 2565, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  8. รางวัลนักวิจัยสร้างชื่อเสียง ด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัย ประจำปี 2565, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  9. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ประเภทการเผยแพร่ผลงานวิจัย ประจำปี 2566, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  10. รางวัลนักวิจัยดีเด่น ประเภทผลงานวิจัยระดับนานาชาติเฉพาะปี 2566, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  11. รางวัลนักวิจัยสร้างชื่อเสียงด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัย ประจำปี 2566, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ
  12. รางวัลนักวิจัยสร้างชื่อเสียงด้านผลงานได้รับการอ้างอิง ประจำปี 2566, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทนรวิโรฒ

5.1 วิชาชีพทางการศึกษา

  1. การสัมมนา “สัมมนาพัฒนา มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ
  2. นโยบายประชารัฐกับมหาวิทยาลัยรับใช้สังคม” ณ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.แม่สอด จ.ตาก, 14-16 กุมภาพันธ์ 2559.
  3. โครงการอบรม “การจัดทำรายงานการประเมิน (SAR) ระดับหลักสูตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2558” ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคารสำนักงานคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์, 13 มิถุนายน 2559.
  4. การสัมมนา “การพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต” ณ สีดา รีสอร์ท นครนายก, 3-4 กุมภาพันธ์ 2559.
  5. โครงการอบรม “ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ณ โรงแรมแกรนด์ สุขุมวิท ซอย 6 กรุงเทพฯ,  30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2559.
  6. โครงการอบรม “ระบบประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA” ณ ห้องประชุม ชั้น 3 อาคารสำนักงานคณะบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์,  23 มกราคม 2560
  7. โครงการอบรม “การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ (TABEE)” ณ ห้องประชุม ชั้น 3 อาคารสำนักงานคณะบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์, สภาวิศวกร, 17 กุมภาพันธ์ 2560
  8. โครงการอบรม “กิจกรรมการนำเกณฑ์การประเมินสู่การปฏิบัติ (Implement Criteria Workshop) หัวข้อ หมวดที่ 1 การนำองค์กร” ณ ห้องบุษราคัม บอลรูม โรงแรมอวานี เอเทรียม, กรุงเทพฯ, 31 มกราคม 2561.
  9. โครงการสัมมนาวิชาการและการประชุมระดมสมอง “สถาบันอุดมศึกษาและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การดำเนินงานและความร่วมมือเพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 24-25 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล จัดโดย สถาบันคลังสมองแห่งชาติ (สคช)

 

5.2 วิชาชีพทางวิศวกรรม (19 ครั้ง)

  1. โครงการอบรม “กระบวนการคำนวณและออกแบบบ้านพักอาศัย แบบ STEP BY STEP” ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาวิชาชีพด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี, บริษัท อินโนเวทีฟ โนว์ฮาว จำกัด, 20 พฤศจิกายน 2547.
  2. โครงการอบรม “การคำนวณและออกแบบโครงสร้างโรงงาน” ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาวิชาชีพด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี, บริษัท อินโนเวทีฟ โนว์ฮาว จำกัด, 18 ธันวาคม 2547.
  3. การอบรมภาควิชาวิศวกรรมโยธาเรื่อง “การออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหว” คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 15-17 มีนาคม 2550.
  4. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “เทคโนโลยีการวิเคราะห์ ออกแบบและก่อสร้างสะพานในประเทศไทย”, ห้องประชุมชั้น 4, อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 21-22 กรกฎาคม 2554.
  5. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “การออกแบบและปรับปรุงอาคารเพื่อรับมือแผ่นดินไหว”, ฮอลิเดย์ อินน์ เชียงใหม่, 5-6 สิงหาคม 2554.
  6. การอบรมในหลักสูตร “แนวทางการออกแบบ ป้องกันและซ่อมแซมโครงสร้าง เพื่อการต้านทานแผ่นดินไหว และคลื่นยักษ์ ตามมาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น (โดยศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศญี่ปุ่น)”, โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค, กรุงเทพฯ, 17 สิงหาคม 2554.
  7. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “แผ่นดินไหว ภัยใกล้ตัว ความพร้อมรับมือของ กทม.”  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (พัฒนาการ) (ผู้จัดการสัมมนา), 24 สิงหาคม 2554.
  8. การสัมมนาเชิงวิชาการ ในหัวข้อ “บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการจัดการในภาวะภัยพิบัติ (บทเรียนและแนวทาง)” ห้องประชุม ประกอบ หุตะสิงห์, ม.ธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) (ผู้เข้าอบรม), 27 มีนาคม 2555.
  9. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “แนวทางการตรวจสอบ การดัดแปลงและการเสริมกำลังโครงสร้าง อย่างปลอดภัยและถูกวิธี” ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., วสท. (ผู้จัดการสัมมนา), 23 มีนาคม 2555.
  10. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “Maintenance and Strengthening of Bridges in Thailand and Japan” ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., วสท. (ผู้จัดการสัมมนา), 23 สิงหาคม 2555.
  11. การสัมมนาวิชาการ ในหัวข้อ “ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมการออกแบบและการก่อสร้างสะพานโดยใช้เหล็กและวัสดุประกอบ” ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., วสท. (ผู้เข้าอบรม), 29 สิงหาคม 2555.
  12. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MIDAS GEN รุ่นที่ 5” ห้องประชุมชั้น 3 ชั้น 4 อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ, วันที่ 13-14 กรกฎาคม 2559.
  13. การอบรมเรื่อง “การบัญชีบริการ : สำหรับวิศวกร และผู้บริการที่ไม่ใช่นักบัญชี” ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,  24-25 มิถุนายน 2560,
  14. งานสัมมนาวิชาการระดับชาติ เรื่อง ความปลอดภัยทางถนน ครั้งที่ 13 “ลงทุนเพื่อความปลอดภัยทางถนนที่ยั่งยืน” ณ. ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา, ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.), วันที่ 6-7 ธันวาคม 2560
  15. การบรรยายพิเศษ “เชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ หัวข้อเรื่อง การปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านแผ่นดินไหว” ณ ห้องประชุมชั้น 6 อาคาร วสท., วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 19 มกราคม 2561.
  16. กิจกรรมวันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก ประจำปี พ.ศ.2561 เรื่อง “พื้นที่ชุ่มน้ำเพื่ออนาคตอย่างยั่งยืน”สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2 กุมภาพันธ์ 2561 ณ. ศูนย์กีฬาทางน้ำบึงหนองบอน
  17. งานอบรม “ที่สุดของงานก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตใต้ดินลึกในประเทศไทย” ณ ห้องทรัพย์ไพลิน ชั้น 2 โรงแรมทาวน์อินทาวน์, สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, 7 พฤศจิกายน 2563.
  18. งานอบรม “เตรียมความพร้อมวิทยากรเพื่ออบรมการออกแบบและคำนวณโครงสร้างอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวตามกฎกระทรวงฯ 2564” การอบรมออนไลน์, สภาวิศวกร, 3-6 สิงหาคม 2564.
  19. งานอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้ไฟไนต์เอลิเมนต์ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมของแข็งอย่างมืออาชีพ,” การอบรมออนไลน์, ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), 27-29 เมษายน 2565.
  20. งานสัมมนา “Limestone Calcined Clay Cement (LC3) Information Day: Road to Thailand Net Zero Emission,” สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย, 1 กันยายน 2565, ห้องแกรนบอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย