Enter your keyword

Our Teacher

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิยนุช ใจแก้ว

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 63 หมู่ที่ 7 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง 16
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120
โทรศัพท์ : 02-6495000 # 22099
อีเมล์ : piya_e56@yahoo.com

1.1 ประวัติ

 ดร. ปิยนุช ใจแก้ว สำเร็จการศึกษา ด้านวิศวกรรมชลประทานและโยธา (วศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจากจบการศึกษาได้ทำงานที่บริษัท เอพซิลอนจำกัด ตำแหน่งวิศวกรโยธา-สิ่งแวดล้อม เป็นบริษัทที่ปรึกษาทางด้านวิศวกรรม ประกอบกิจการรับออกแบบและควบคุมงานก่อสร้างโครงการระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ่ของประเทศ เป็นเวลา 7 ปี และได้ลาศึกษาต่อหลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในระดับปริญญาโท สำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2551 หลังจากนั้นสอบทุนรัฐบาลญี่ปุ่น (Japanese Government (MEXT) Scholarship)จึงเดินทางไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท-เอก ด้านการบำบัดน้ำและดิน ณ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Agricultural and Environmental Engineering) มหาวิทยาลัยแห่งโตเกียวของเกษตรและเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่น ภายใต้ทุนรัฐบาลประจำปี พ.ศ. 2554 จนกระทั้งสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 ระหว่างเรียนเป็นผู้ช่วยนักวิจัย ให้กับภาควิชาภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแห่งโตเกียวของเกษตรและเทคโนโลยี เป็นเวลาประมาณ 2  ปี และก็เข้าทำงานเป็นอาจารย์ประจำ ในภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครในด้านงานวิจัย มีความสนใจด้านการบริหารจัดการน้ำ การบำบัดน้ำและดิน รวมทั้งผลกระทบจากสารปนเปื้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลในดิน  การพัฒนาและการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลองเพื่อจำลองชะตากรรมและการขนส่งสารปนเปื้อนในดินและน้ำ รวมทั้งงานด้านการผลิตพลังงานทดแทนจากเศษวัสดุเหลือใช้

 

1.2 การศึกษา

  • PhD (Agricultural and Environmental Engineering) Tokyo University of Agriculture and Technology, Japan, 2559.
  • MS (Agricultural and Environmental Engineering) Tokyo University of Agriculture and Technology, Japan, 2555.
  • วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551
  • วศ.บ. (วิศวกรรมชลประทาน-โยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548

 

1.3 ตำแหน่งทางวิชาการ

อาจารย์, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิม    พระเกียรติ จังหวัดสกลนคร 2559-ปัจจุบัน

 

1.4 วิชาที่สอน

  • การจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental System Management)
  • การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessments)
  • การปฏิบัติการเฉพาะหน่วยสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Unit Operation for Environmental Engineering)
  • วิศวกรรมชลศาสตร์(Hydraulic Engineering)
  • การไหลในทางน้ำเปิด (Open Channel Flow)

 

1.5 งานบริการทางวิชาชีพวิศวกรรม

  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านจัดสรรน้ำและสิ่งแวดล้อม   โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 (นครพนม) เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวง มูลค่าโครงการ : ประมาณ 1,400 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการระบบขนส่งมวลชน สายสีเหลือง สายสีน้ำตาล และสายสีชมพู และงานทบทวนแผนพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เจ้าของโครงการ: สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร มูลค่าโครงการ : 80,000 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  งานศึกษาความเหมาะสมด้านวิศวกรรม และแนวทางการลงทุนที่เหมาะสมของโครงการระบบขนส่งมวลชน 3 สาย คือ สายสีเหลือง (ลาดพร้าว ศรีนครินทร์ สำโรง) สายสีน้ำตาล (บางกะปิ-มีนบุรี) และสายสีชมพู (แคราย-สุวินทวงศ์) และการออกแบบเบื้องต้น (Preliminary Design) เจ้าของโครงการ : สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร มูลค่าโครงการ : 80,000 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการก่อสร้างถนนเชื่อมต่อถนนราชพฤกษ์-ถนนกาญจนาภิเษก (แนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก-ตะวันตก) เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม มูลค่าโครงการ : ประมาณ 9,300 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแยกบนถนนกัลปพฤกษ์(ถนนสุขาภิบาล 1, ซอยกำนันแม้น) 2 แห่ง 9 ตรวจสอบความปลอดภัยมลภาวะในการก่อสร้างร่วมถึงศึกษาโครงข่ายการจราจรที่ส่งต่อโครงการและการจัดจราจรระหว่างก่อสร้าง เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวงชนบท  มูลค่าโครงการ : 467 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยานนทบุรี เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวง มูลค่าโครงการ : ประมาณ 3,000 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BUS RAPID TRANSIT : BRT) เจ้าของโครงการ : สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม (สนข.) มูลค่าโครงการ 80 – 120 ล้านบาท/กม.
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการ ทางพิเศษสายรามอินทรา – วงแหวนรอบนอกตะวันออก กรุงเทพฯ เจ้าของโครงการ : การทางพิเศษแห่งประเทศไทย มูลค่าโครงการ : ประมาณ 6,500 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการทางขึ้น-ลงทางพิเศษบูรพาวิถี บริเวณทางเข้า-ออกด้านใต้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เจ้าของโครงการ : การทางพิเศษแห่งประเทศไทย มูลค่าโครงการ 2,122 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการก่อสร้างโครงข่ายเชื่อมต่อถนนนครอินทร์-ถนนวิภาวดีรังสิต เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวงชนบท มูลค่าโครงการ : 2,880 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการก่อสร้างทางแนวใหม่ สายทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ด้านตะวันตก) ต่อเชื่อมกับทางหลวงหมายเลข 347 และเชื่อมโยงทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ด้านตะวันออก) ไปบรรจบทางหลวงหมายเลข 352 เจ้าของโครงการ : กรมทางหลวง  มูลค่าโครงการ : 5,000 ล้านบาท
  • วิศวกรออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านการระบายน้ำและสิ่งแวดล้อม  โครงการงานจ้างที่ปรึกษาสำรวจ ออกแบบแก้ไขปัญหาต่อเชื่อมสะพานยกระดับรามคำแหง ลำสาลี และแก้ไขปัญหาจราจรบริเวณวงแหวนตะวันออก เจ้าของโครงการ : กรุงเทพมหานคร  มูลค่าโครงการ : 6,000 ล้านบาท

 

1.6 ประเภทใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

  • วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร(ภย /41391)
  • วิศวกรสิ่งแวดล้อม รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร(ภส /210)

2.1 สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
  • วิศวกรรมชลประทานและโยธา
  • การบำบัดสารปนเปื้อนในดิน
  • การศึกษาสารปนเปื้อนในน้ำใต้ดิน
  • การบำบัดน้ำเสียด้วยเยื่อกรองเมมเบรน
  • การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ (Water reuse)

 

2.2 หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การศึกษาสารปนเปื้อนในน้ำใต้ดิน
  • การบำบัดสารปนเปื้อนในดิน
  • การบำบัดน้ำเสีย และการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
  • การผลิตพลังงานทดแทนจากบำบัดของเสีย

 

2.3 โครงการวิจัย

  • Microbial Regrowth Potential in Distribution Systems for Reclaimed-Greywater by Membrane Bioreactor (MBR)  ภายใต้ทุนวิจัย KWEF-AIT Research Grant (KARG)  2018 (หัวหน้าโครงการ)
  • การสร้างเรือต้นแบบพลังงานแสงอาทิตย์ในการเก็บตัวอย่างน้ำและตรวจสอบคุณภาพน้ำ ภายใต้ทุนวิจัยคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มก.ฉกส.พ.ศ. 2561 (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการศึกษาหาสาเหตุกรณีน้ำท่วมเทศบาลเมืองสกลนครเพื่อหาแนวทางแก้ไข ภายใต้โครงการช่วยเหลือน้ำท่วมจังหวัดสกลนคร พ.ศ. 2560 (หัวหน้าโครงการ)
  • หน่วยวิจัยด้านบริการวิชาการภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม ภายใต้กองทุนกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์  พ.ศ. 2560-2561 โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตโคเนื้อ สหกรณ์การเลี้ยงปศุสัตว์ กรป. กลาง โพนยางคำ จำกัด สำหรับการแข่งขันในเขตการค้าเสรี (FTA) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)  (ผู้ร่วมวิจัย)
  • โครงการวิจัยการศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาหนองหารเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีอย่างยั่งยืน แหล่งทุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร พ.ศ. 2560  (ผู้ร่วมวิจัย)
  • โครงการ “Green research for sustainable and waste to energy management” ประเทศสวีเดน ณ Vattenfall’s district heating plant และ the Uppsala University, Sweden พ.ศ. 2558 (ผู้ร่วมวิจัย)
  • โครงการวิจัยการออกแบบและตรวจสอบคุณภาพน้ำในแม่น้ำและทะเล, ประเทศออสเตรเลีย ณ the National Research Centre for Environmental Toxicology, the University of Queensland, Australia.พ.ศ. 2557  (ผู้ร่วมวิจัย)
  • โครงการศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อมลุ่มน้ำพุสวรรค์ และผลกระทบสารปนเปื้อนในน้ำและดิน ในพื้นที่อ่างเก็บน้ำพุสวรรค์ ตำบลพุสวรรค์ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2556 – 2558  (ผู้ร่วมวิจัย)


  • International Journal
    1. Julien Boulange, FaragMalhat, Piyanuch Jaikaew, Kazuki Nanko, HirozumiWatanabe (2018). Portable rainfall simulator for plot-scale investigation of rainfall-runoff, and transport of sediment and pollutants. International Journal of Sediment Research, IJSRC188, 22 August 2018, DOI: https://doi.org/10.1016/j.ijsrc.2018.08.003
    2. Pakdee Khobklang, Piyanuch Jaikaew (2018). “A preliminary study for modelling the behavioral response to static loading of porous concrete by using disturbed state concept”, 6th Annual International Conference on Architecture and Civil Engineering, ACE 2018 (216379)
    3. Somkuan Photharin, Rungnapa Jantarasaka, Rujikarn Siriva1, Piyanuch Jaikaew, Arporn Srimat and Udom Tipparach (2017). Influence of magnetic treatment on properties of groundwater, Journal of Chemical and Pharmaceutical Sciences, JCPS, Volume 10 Issue 3
    4. Sukthanapirat, R., Suttibak, S., and Jaikaew, P. (2017). The Comparison of Water Quality in Community and Rural Area in Mekong River, Thailand. In Proceeding of 6th International Conference on Environmental Engineering, Science and Management, 17-18 May 2017, Bangkok Thailand, P5.
    5. P. Jaikaew, F. Malhat, J. Boulange and H. Watanabe (2017). Aspect of the degradation and adsorption kinetics of atrazine and metolachlor in andisol soil, Hellenic Plant Protection Journal, 10: 1-14, 2017 DOI 10.1515, 27 March 2014
    6. Phonthida Sensai, Samonporn Suttibak, and Piyanuch Jaikaew (2016). Assessment of Nhong Han Lake, Sakon Nakhon, Thailand by using Water Quality Index. In Processding of International Conference GMSARN int. Conf. on Innovative Energy, Environment, and Development in GMS, 16-18 November 2016 [CD-ROM], Kunming, 6p.
    7. Julien Boulange, Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Satoru Ishihara, Hirozumi Watanabe (2016). Development and validation of the SPEC model for simulating the fate and transport of pesticide applied to Japanese upland agricultural soil. Journal of Pesticide Science, Volume 41 Issue 4, DOI: 10.1584/jpestics.D16-027, pp.152-162
    8. Piyanuch Jaikaew, Julien Boulange, Dang Quoc Thuyet, Farag Malhat, Satoru Ishihara, Hirozumi Watanabe. Potential impacts of seasonal variation on atrazine and metolachlor persistence in andisol soil. Environmental Monitoring and Assessment, Volume 187, Issue 12, 5 December 2015, ISSN: 0167-6369
    9. Julien Boulange, Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Hirozumi Watanabe. Simulating the fate and transport of nursery-box applied pesticide in rice paddy fields, Paddy and Water Environment, DOI 10.1002/ps.4096, 14 August 2015
    10. Indra Purnama, Farag Malhat, Piyanuch Jaikaew, Hirozumi Watanabe, Sri Noegrohati, Bambang Rusdiarso. Degradation Profile of Azoxystrobin in Andisol soil: Laboratory Incubation, Toxicological & Environmental Chemistry, Volume 96, Issue 8, 13 March 2015

 

  • National Journal
    1. Piyanuch Jaikaew, Farag Malhat, Le Hoang Tu, Julien Boulange, Charoen Jiraratchwaro and Hirozumi Watanabe (2017). Investigation of leaching processes of herbicides in soil column simulating by HYDRUS-1D model, In Proceeding of International Convention on Civil Engineering – ICCE2017, 20 – 21 July 2017, Naknon Ratchaima Thailand.

 

  • International Conference
    1. Piyanuch Jaikaew, Julien Boulange, Dang Quoc Thuyet, Farag Malhat, Satoru Ishihara, Hirozumi Watanabe, Investigation of the fate and transport of environmental conditions and residues of herbicides (atrazine and metolachlor) in Japanese soil in summer and winter crop seasons under natural weather condition, the 1st International Conference on Environment, Livelihood, and Services (ICELS 2015), Bangkok, Thailand, November 2-5, 2015
    2. Piyanuch Jaikaew, On-anong Phewnil, Hirozumi Watanabe, Investigation of herbicide usage and consequent contamination in upland soil and surface water in Petchaburi Province of Thailand, the 4th Thai Student Academic Conference in Sweden “Green Research for Sustainable Thailand”, Uppsala, Sweden, May 8-10, 2015
    3. Piyanuch Jaikaew, Boulange Julien, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune and Yasuo Kitamura, Seasonal variation of environmental conditions and residues of atrazine and metolachlor in Japanese agricultural soil, the 40th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.135, Ibaraki, Japan, March 18-20, 2015
    4. Farag Malhat, Piyanuch Jaikaew, Hirozumi Watanabe, Julien Boulange, Ayman Saber, A portable rainfall/runoff simulator for assessment of herbicides and sediment transfer via surface runoff: A prelude to field scale study, the 40th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.133, Ibaraki, Japan, March 18-20, 2015
    5. Boulange Julien, Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune and Yasuo Kitamura,Year around simulation of fate and transport of nursery-box applied pesticide in rice paddy field, the 40th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.134, Ibaraki, Japan, March 18-20, 2015
    6. Boulange Julien, Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune and Yasuo Kitamura, Improvements on predicting soil water content and dissipation of atrazine and metolachlor in Japanese agricultural soils by SPEC model, the 40th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.144, Ibaraki, Japan, March 18-20, 2015
    7. Indra Purnama, Farag Malhat, Hirozumi Watanabe, Sri Noegrohati, Bambang Rusdiarso, Piyanuch Jaikaew, Effects of different temperature on the degradation pattern of azoxystrobin in andisol soil, the 40th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.143, Ibaraki, Japan, March 18-20, 2015
    8. Piyanuch Jaikaew, Dang Quoc Thuyet, Piniti Somjunyakul, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune and Yasuo Kitamura, Monitoring of atrazine residues in Andisol in summer and winter crop seasons, the 38th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.139, Ibaraki, Japan, March 14-16, 2013
    9. Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Piniti Somjunyakul, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune, Yasuo Kitamura and Yukihiro Yamamoto, A simulation model for predicting pesticide dissipation in agricultural soil -Development, validation and application, the 38th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.137, Tsukuba, Japan, March 14-16, 2013
    10. Piniti Somjunyakul, Junghun Ok, Piyanuch Jaikaew, Dang Quoc Thuyet, Hirozumi Watanabe, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune and Yasuo Kitamura, Development of a rainfall-runoff simulator for investigating pesticide transport in agricultural soil, the 38th Annual Meeting of the Pesticide Science Society of Japan, p.140, Tsukuba, Japan, March 14-16, 2013
    11. Piniti Somjunyakul, Junghun Ok, Piyanuch Jaikaew, Dang Quoc Thuyet, Julien Boulange, Hirozumi Watanabe, Development of a portable rainfall-runoff simulator for investigating pollutant transport from agricultural soil – bromide and Cs transport-, Agriculture Engineering Society, p.656-657, Tokyo, Japan, September 3-5, 2013
    12. Hirozumi Watanabe, Dang Quoc Thuyet, Piyanuch Jaikaew, Piniti Somjunyakul Julien Boulange, Satoru Ishihara, Takashi Iwafune, Yasuo Kitamura and Yukihiro Yamamoto, Simulation of pesticide dissipation in agricultural soil by SPEC model, Agriculture Engineering Society, p.656-657, Tokyo, Japan, September 3-5, 2013
    13. Piyanuch Jaikaew, Investigation of atrazine dissipation fields under natural rainfall in Japan, the 4th International Symposium of Education Program for Field-Oriented Leaders in Environmental Sectors in Asia and Africa, p.16, Tokyo-Japan, November 29, 2012

 

  • National Conference
    1. ปิยนุช ใจแก้ว (2561) การสร้างเรือต้นแบบพลังงานแสงอาทิตย์ในการเก็บตัวอย่างน้ำและตรวจวัดคุณภาพน้ำ “ Prototype of water collection and water quality monitoring boat of solar power ” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23 “วิศวกรรมยุคใหม่กับการรับใช้สังคม” จัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อำเภอเมือง จ. นครนายก วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2561
    2. ภักดี คบกลาง, ปิยนุช ใจแก้ว (2561) คุณสมบัติของบล็อกประสานดินลูกรังที่ใช้ปูนซีเมนต์ประเภทที่ 1 ผสมเถ้าชานอ้อยเป็นวัสดุประสาน“ Properties of Lateritic Soil-cement Interlocking Blocks using Portland Cement Type I mixed with Bagasse Ash as a binder ” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23 “วิศวกรรมยุคใหม่กับการรับใช้สังคม” จัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อำเภอเมือง จ. นครนายก วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2561
    3. พิสิษฏ์ มณีโชติ, ปิยนุช ใจแก้ว และ นฤมล ดวงนามล, และ เจริญ จิระราชวโร (2560) การเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำด้วยเครื่องเติมอากาศพลังงานแสงอาทิตย์แบบเหวี่ยงร่วมกับจอก “Dissolved Oxygen increase by centrifugal solar aerator combined with water lettuce” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 “เทคโนโลยีเขียวเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน” จัดขึ้น ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา วันที่ 18-20 พฤษภาคม 2560

 

4.1 ความภาคภูมิใจ/รางวัลที่ได้รับ

  • พ.ศ. 2557 ได้รับทุนวิจัยจากบริษัท Mitsubishi Corporation (Environmental Sustainability Management: 2014-2016) ในระดับปริญญาเอก สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยังยืน ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ศ. 2555-2556 ได้รับทุนวิจัยจาก Center of Education for Leaders in Environmental, Tokyo University of Agriculture and Technology (Field-Oriented Leaders in Environmental Sectors in Asia and Africa: FOLENS 2012) ในระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและสิงแวดล้อม ณ มหาวิทยาลัยแห่งโตเกียวของเกษตรและเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่น
  • พ.ศ. 2554 นักเรียนทุนรัฐบาลญี่ปุ่น  (Monbukagakusho Scholar: MEXT 2011) ในระดับปริญญาโท-เอก สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรและสิงแวดล้อม ณ มหาวิทยาลัยแห่งโตเกียวของเกษตรและเทคโนโลยี ประเทศญี่ปุ่น

 

4.2 รางวัลเกี่ยวกับงานวิจัย

  • รางวัลเพื่อสนับสนุนงานวิจัย (KWEF-AIT research grant: KARG 2018) จากบริษัท Kurita Water and Environment Foundation (KWEF), 17 สิงหาคม 2561
  • หลักสูตร ผู้นำการตรวจประเมิน และผู้ตรวจประเมิน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) IRCA Certified ISO 14001: 2015 Lead Auditor Training course
  • หลักสูตร กฎหมายสิ่งแวดล้อมกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)