Enter your keyword

Our Teacher

รองศาสตราจารย์ ดร.สุดนิรันดร์ เพชรัตน์

รองศาสตราจารย์

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 63 หมู่ที่ 7 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง 16
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120
โทรศัพท์ 02-6495000 # 22086
อีเมล์ : sudniran@g.swu.ac.th
ไซต์ https://sites.google.com/g.swu.ac.th/sudniran-phetcharat/home

1.1 ประวัติ

รองศาสตราจารย์ ดร.สุดนิรันดร์ เพชรัตน์ จบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง เมื่อปี พ.ศ. 2540 จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิศวกรรมศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา เมื่อ ปี พ.ศ.2544 จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา Remote Sensing and GIS เมื่อ ปี พ.ศ.2554 จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ประสบการณ์ด้านการทำวิจัย เช่น โครงการประเมินด้านการประหยัดพลังงานของการออกแบบและการใช้วัสดุก่อสร้างเพื่อการประหยัดพลังงานของบ้านพักอาศัย โครงการมาตรฐานการจัดพื้นที่สาธารณะและจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน โครงการประเมินผลกระทบด้านการจราจรจากการเพิ่มขึ้นของรถยนต์ตาม โครงการรถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายรัฐบาลและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการเดินทาง โครงการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการขับรถย้อนศร โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินสภาพผิวทางชนิดยืดหยุ่นเมื่อได้รับผลกระทบจากปัจจัยด้านการจราจร กระบวนการคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อป้องกันการทอดทิ้งงานก่อสร้าง ในหน่วยงานภาครัฐ และอีกหลายงานวิจัย

 

1.2 การศึกษา

  • D.Eng. in Remote Sensing and Geographic Information Systems, Asian Institute of Technology, Thailand, 2014
  • M.Eng. in Civil Engineering, Department of Civil Engineering, Kasetsart University, Thailand, 2001
  • B.Eng. in Transportation Engineering, Department of Transportation Engineering, Suranaree University of Technology, Thailand, 1997

 

1.3 ตำแหน่งทางวิชาการ

  • รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2560-ปัจจุบัน
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2550-2560
  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2544-ปัจจุบัน

 

1.4 วิชาที่สอน

  • ระดับปริญญาตรี
    • วศก 109 เขียนแบบวิศวกรรม (ME 109 Engineering Drawing), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 251 คอนกรีตเทคโนโลยี (CVE 251 Concrete Technology), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 252 การทดสอบวัสดุทางวิศวกรรมโยธา (CVE 252 Civil Engineering Material and Testing), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 261 วิศวกรรมสำรวจ (CVE 261 Surveying), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 262 ปฎิบัติการสำรวจ (CVE 261 Surveying Field Work), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 263 วิศวกรรมสำรวจภาคสนาม (CVE 263 Surveying Camp), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 408 โปรแกรมประยุกต์ในงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม (CVE 408 Computer Applications for Civil Engineering), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    • วศย 466 ระบบข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (CVE 466 Geographic Information System), สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 

1.5 งานบริการทางวิชาชีพวิศวกรรม

  • ประธานคณะกรรมการโครงการบริการวิชาชีพทางวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2557 – 2560

 

1.6 ประเภทใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

  • วิศวกรโยธา รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จากสภาวิศวกร (COE) ระดับภาคีวิศวกร, พ.ศ.2542-ปัจจุบัน

 

1.7 บรรณาธิการในวารสารทางวิชาการ

  • กองบรรณาธิการ, วารสารคณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประจำปี พ.ศ.2558 – 2560

 

1.8 กิจกรรมเพื่อสังคมทางวิศวกรรม

  • โครงการศึกษาและวางระบบผังเมืองรวมในเขตเทศบาลตำบลบ้านนา ความรับผิดชอบ วิเคราะห์และจัดทำผังด้านการจราจร
  • โครงการศึกษาวิธีแก้ไขความเสียหายจากากรเสื่อมสภาพของวัสดุและอายุการมใช้งานของสะพานในสายทางโครงข่ายทางหลวงชนบท (ระยะที่1) ความรับผิดชอบ ความเสียหายเนื่องจากการจราจร
  • โครงการศึกษาวิธีแก้ไขความเสียหายจากากรเสื่อมสภาพของวัสดุและอายุการมใช้งานของสะพานในสายทางโครงข่ายทางหลวงชนบท (ระยะที่ 2) ความรับผิดชอบ ความเสียหายเนื่องจากการจราจร
  • โครงการศึกษาและจัดทำคู่มือแนวทางการออกแบบและการก่อสร้างถนนเลียบคันคลอง (ระยะที่ 1) ความรับผิดชอบ ศึกษาและจัดทำแนวทางการออกบบถนนเลียบคันลองจากผลกระทบทางด้านน้ำหนักบรรทุก

 

1.9 ภาระงานที่มีต่อภาควิชา

  • ประธานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2558-ปัจจุบัน
  • รักษาการแทนหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, พ.ศ.2555 – 2556

 

1.10 ภาระงานที่มีต่อคณะ

  • ผู้อำนวยการศูนย์แห่งความยอดเยี่ยมทางวิศวกรรมเพื่อความยั่งยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2558 – 2561

 

1.11 ภาระงานที่มีต่อมหาวิทยาลัย

  • หัวหน้าควบคุมงานปรับปรุง คณะสหเวช ชั้น 3 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.องครักษ์ จ.นครนายก มูลค่า 13 ล้านบาท 2557
  • หัวหน้าควบคุมงานปรับปรุงโรงอาหารหอพักนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.องครักษ์ จ.นครนายก มูลค่า 4.3 ล้านบาท 2556
  • ออกแบบโรงจอดรถความยาว 120 เมตรและหลังคาคลุมทางเดินเชื่อมความยาว 100 เมตร สถาบันวิจัย พัฒนาและสาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2555
  • หัวหน้าผู้ควบคุมงานปูผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตหนา 5 ซม. ปริมาณ 14,600 ตารางเมตร สถาบันวิจัย พัฒนาและสาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2555
  • หัวหน้าคณะสำรวจเพื่อจัดทำแผนที่ภูมิประเทศขนาดพื้นที่ 1,700 ไร่ บริษัท Eternal Energy Public Co.,Ltd. ต.ตะคุ อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา เสร็จสิ้น พ.ศ.2553
  • สำรวจออกแบบกำแพงกันตลิ่ง เทศบาลตำบลบ้านนา จ.นครนายก เสร็จสิ้น พ.ศ.2548
  • หัวหน้าผู้ควบคุมงานก่อสร้างอาคารที่พักบุคลากรทางการแพทย์ คณะแพทย์ศาสตร์ มศว จำนวน 2 อาคาร มูลค่า 80 ล้านบาท เสร็จสิ้น 2546

2.1 สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • วิศวกรรมสำรวจ
  • วิศวกรรมการทาง

 

2.2 สาขาวิชาที่ชำนาญ

  • Highway Engineering Materials
  • Geographic Information System
  • Computer Applications in Civil Engineering

 

2.3 หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • วัสดุก่อสร้างประหยัดพลังงาน
  • สมบัติของวัสดุการทาง และวัสดุก่อสร้าง
  • ปัญหาการจราจร และพฤติกรรมการขับขี่ไม่พึงประสงค์
  • การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ ผู้พิการ และคนทุกวัย

 

2.4 แนวคิดในการดำเนินงานวิจัย

ใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน โดยนิสิตมีส่วนร่วมในงานวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการวิจัยของนิสิต ให้เป็นผู้ที่มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ วางแผนงาน การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก

 

2.5 โครงการวิจัย/บริการชุมชน

  • หัวหน้าโครงการวิจัย “พัฒนาระบบผนังและการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างเพื่อลดความร้อนภายในอาคาร” ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562  ตั้งแต่พฤศจิกายน 2562 ถึง ตุลาคม 2563 (อยู่ระหว่างการดำเนินงาน)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “การศึกษาเปรียบเทียบสมบัติเชิงกลของเหล็กข้ออ้อยที่ผลิตโดยใช้กรรมวิธีทางความร้อนกับเกณฑ์ความปลอดภัยในงานวิศวกรรมโยธา” ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตั้งแต่  พฤศจิกายน 2560 ถึง มีนาคม 2562
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “ศึกษาสมบัติเชิงกลและสภาพการนำความร้อนของอิฐดินซีเมนต์ที่ปรับปรุงด้วยน้ำยางพาราและประเมินความเหมาะสมในการใช้เป็นวัสดุก่อสร้างประหยัดพลังงาน” ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตั้งแต่  พฤศจิกายน 2560 ถึง ธันวาคม 2561
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “รูปแบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการสัญจรสำหรับชุมชน” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560, พฤศจิกายน 2559 – ตุลาคม 2560
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างการเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ต่อพฤติกรรมการบริโภครถยนต์ภายในประเทศ” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560, พฤศจิกายน 2559 –  ตุลาคม 2560
  • ผู้ร่วมวิจัย “ปัจจัยที่มีผลต่ออายุและประสิทธิภาพการใช้งานของผิวทางชนิดยืดหยุ่น” “ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2560,  พฤศจิกายน 2558 – ธันวาคม 2560
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินสภาพผิวทางชนิดยืดหยุ่นเมื่อได้รับผลกระทบจากปัจจัยด้านการจราจร” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559, พฤศจิกายน 2558 – เมษายน 2560
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “กระบวนการคัดเลือกผู้ประกอบการเพื่อป้องกันการทอดทิ้งงานก่อสร้างในหน่วยงานภาครัฐ” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559, พฤศจิกายน 2558 ถึง เมษายน 2560
  • ผู้ร่วมวิจัย “การประยุกต์ใช้ยางพาราและดินซีเมนต์สำหรับงานก่อสร้างถนน” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559, เมษายน 2559 – มีนาคม 2560
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการขับรถย้อนศร” ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เงินรายได้มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ตั้งแต่  ตุลาคม 2557 ถึง กันยายน 2558
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “ประเมินผลกระทบด้านการจราจรจากการเพิ่มขึ้นของรถยนต์ตามโครงการรถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายรัฐบาลและวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรูปแบบการเดินทาง” ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เงินรายได้มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557, มกราคม 2557 – ธันวาคม 2557
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “ประเมินหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557, พฤศภาคม 2557 – เมษายน 2558
  • หัวหน้าโครงการวิจัย “มาตรฐานการจัดพื้นที่สาธารณะและจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน” ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556, ตุลาคม 2555 – กันยายน 2556
  • ที่ปรึกษาโครงการ “การประเมินด้านการประหยัดพลังงานของการออกแบบและการใช้วัสดุก่อสร้างเพื่อการประหยัดพลังงานของบ้านพักอาศัย” ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555-2556


  • International Journal
    1. Phetcharat, S. (2014). Properties Comparisons and Cost Analysis of Asphaltic Cement Grade 80/100 and 60/70 Modified with Crumb Rubber and SBS Polymer. Advance Materials Research, 911, 484 – 488,
    2. Phetcharat, S., Nagai, M., Tipdecho, T. (2014). Influence of surface height Variance on distribution of ground control points. Journal of Applied Remote Sensing, 18, 083684-1-12
    3. Phetcharat, S. (2013). Energy Efficiency and Economical Analysis of Constructions Materials for Controls Buildings in Thailand. International Journal of Engineering and Technology, 5 (4), 483-487

 

  • National Journal
    1. Phetcharat, S., Buntan, Roongarun, Ruekrai, R. (2022). Long Term Trend Analysis of Domestic Car Sales Volume Using Time Series: 2011-2021 Case Study. Srinakharinwirot University Engineering Journal, 18(1), 31-41.
    2. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งอรุณ บุญถ่าน และรุ่งโรจน์ ฤกษ์หร่าย, (2564), การประยุกต์ใช้ยางพาราเป็นสารผสมเพิ่มในการผลิตอิฐดินซีเมนต์, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(1), 1-13
    3. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งอรุณ บุญถ่าน, ศานติ จินตรัตน์. (2559). วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการขับขี่ยานพาหนะย้อนศร: กรณีศึกษาจังหวัดนครนายก. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(2), 141-152
    4. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งอรุณ บุญถ่าน, ศานติ จินตรัตน์. (2558). อิทธิพลจากโครงการรถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายรัฐบาลต่อพฤติกรรมการเดินทางของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 10(2), 47-55
    5. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งอรุณ บุญถ่าน, ศานติ จินตรัตน์. (2558). ผลกระทบจากโครงการรถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายรัฐบาลต่อปริมาณจราจรและความเร็วในการเดินทางด้วยรถยนต์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23(5), 854-866
    6. Sudniran Phetcharat. (2015). Effect of Stir-Mixed Processing Variables on Properties of Asphalt Cement Grade 80/100 Modified with Crumb Rubber and Styrene Butadiene Styrene Polymer. Suranaree Journal of Science and Technology, 22(4), 295-304
    7. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งอรุณ บุญถ่าน, ศานติ จินตรัตน์, มัตติกา บุญมา. (2557). การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพเพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9(2), 70-85
    8. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. (2556). สมบัติของแอสฟัลต์ซีเมนต์เกรด 60/70 ปรับปรุงด้วยผงยางรถยนต์และโพลีเมอร์ชนิด SBS. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 15(1), 56-63

 

  • International Conference
    1. Phetcharat, S. Properties Comparisons and Cost Analysis of Asphaltic Cement Grade 80/100 and 60/70 Modified with Crumb Rubber and SBS Polymer. Proceedings of the 4th International Conference on Key Engineering Materials; 2014 March 22-23; Bali, Indonesia
    2. Phetcharat, S. Energy Efficiency and Economical Analysis of Constructions Materials for Controls Buildings in Thailand. Proceedings of the 2nd International Conference on Civil Engineering and Materials; 2013 July 6-7; Hong kong, China

 

  • National Conference
    1. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, รุ่งโรจน์ ฤกษ์หร่าย, โคมฉาย ไทยยิ่ง และอิทธิพร ศิริสวัสดิ์, ผลกระทบจากความร้อนต่อสมบัติความแข็งและโครงสร้างจุลภาคของเหล็กข้ออ้อยที่ผลิตด้วยกรรมวิธีทางความร้อน, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2562 จ.อุดรธานี
    2. สุดนิรันดร์ เพชรัตน์, ศานติ จินตรัตน์. การศึกษาพฤติกรรมการทำผิดกฎจราจรกรณีการขับขี่ยานพาหนะย้อนศรในเขตจังหวัดนครนายก. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21; 2559 มิถุนายน 28-30; สงขลา, ประเทศไทย
    3. Phetcharat S. (2007), “Shearing Resistance of Dust Stone Mixed Cement by CBR Method”, NCCE 12th National Convention on Civil Engineering, Nareasuan University, Phitsanulok, Thailand, Page 197
    4. สุดนิรันดร์ และคณะ (2550), “ความร้อนจากเครื่องยนต์ไอพ่นที่มีผลต่อคุณสมบัติของวัสดุยารอยต่อผิวทางวิ่งคอนกรีต”, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 4 (ได้รับรางวัลระดับ ดี สาขาวิศวกรรมศาสตร์), จังหวัดนครปฐม, ประเทศไทย
    5. Phetcharat S., Nakkamma K., Petchasiri K. and Suwanit T.(2006), “A Study of Appropriate Speed Bumps in Local Area”, NCCE 11th National Convention on Civil Engineering, Kasetsart University, Phuket, Thailand, Page 264
    6. Phetcharat, S. and Konsuwan, S. (2004), “A Study of Used Para Rubber Smoked Sheet to Develop Asphaltic Concrete”, NTC 2nd The Second National Transport Conference, Bangkok, Thailand, Page 44

 

3.1 ตำราเรียน

  • สุดนิรันดร์  เพชรัตน์, วิศวกรรมสำรวจ (Surveying). พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม; 2559

 

3.2 เอกสารประกอบคำสอน

  • สุดนิรันดร์  เพชรัตน์, เอกสารคำสอนวิชาปฎิบัติการสํารวจ (Surveying Field Work). พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม; 2559

 

3.3 เอกสารประกอบการสอน

  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. Computer Applications for Civil Engineering.  ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. Asphalt Technology. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. เขียนแบบวิศวกรรม. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. คอนกรีตเทคโนโลยี (CVE 251 Concrete Technology), ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. การทดสอบวัสดุทางวิศวกรรมโยธา.ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. วิศวกรรมสำรวจ. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. ปฎิบัติการสำรวจ. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. วิศวกรรมสำรวจภาคสนาม. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. โปรแกรมประยุกต์ในงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • สุดนิรันดร์ เพชรัตน์. ระบบข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์. ภาควิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

5.1 วิชาชีพทางการศึกษา

  • การสัมมนา “สัมมนาพัฒนา มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ – นโยบายประชารัฐกับมหาวิทยาลัยรับใช้สังคม” ณ วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ.แม่สอด จ.ตาก, 14-16 กุมภาพันธ์ 2559.

 

5.2 วิชาชีพทางวิศวกรรม

  • การฝึกอบรมหลักสูตร “การสำรวจข้อมูลระยะไกลขั้นสูง” ระหว่างวันที่ 14 – 25 พฦษภาคม 2550 โดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
  • การฝึกอบรมหลักสูตร “การสร้างออร์โทด้วยข้อมูลจากดาวเทียมรายละเอียดสูงและเทคนิคการสร้างข้อมูลภูมิสารสนเทศ 3 มิติ” ระหว่างวันที่ 15 – 19 มิถุนายน 2552 โดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
  • การฝึกอบรมหลักสูตร “SAR Remote Sensing and Its Application” ระหว่างวันที่ 30 พ.ย. – 3 ธ.ค. 2553 โดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)