Enter your keyword

Our Teacher

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธิดา ทีปรักษพันธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 63 หมู่ที่ 7 ถนนรังสิต-นครนายก คลอง 16
อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก 26120
โทรศัพท์ 02-6495000 # 22099, อีเมล์ : suthidat@g.swu.ac.th

1.1 ประวัติ

ดร. สุธิดา ทีปรักษพันธุ์ สำเร็จการศึกษา ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (วศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับสอง หลังจากนั้นได้รับทุนการศึกษาจากหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระดับปริญญาโท หลังจากสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2553 ได้ใช้เวลาเป็นผู้ช่วยนักวิจัย ให้กับภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นเวลาประมาณ 1 ปี ก่อนบินไปศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกด้าน ด้วยทุนรัฐบาลญี่ปุ่น และสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2557 และก็เข้าทำงานเป็นอาจารย์ประจำ ในภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ในด้านงานวิจัย มีความสนใจด้านการบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นสูง ด้วยเทคโนโลยีขั้นสุง ได้แก่ เมมเบรน และแอดวานซออกซิเดชั่นโดยการใช้พลาสมา มีโครงการวิจัยในปัจจุบัน ได้แก่การศึกษาและพัฒนาการจัดการน้ำเสียในมหาวิทยาลัยรินครินทรวิโรฒ, การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่, การใช้พลาสมาเพื่อการบำบัดน้ำเสีย และงานด้านการผลิตพลังงานทดแทนจากเศษวัสดุเหลือใช้

นอกจากงานวิจัยแล้ว ดร.สุธิดา ยังได้รับเป็นที่ปรึกษาด้านการจัดวางผังเมืองในชุมชนต่างๆ โดยรับผิดชอบในส่วนงาน ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานด้านสาธารณูปโภคของเมือง

 

1.2 การศึกษา

  • PhD (Urban Engineering) University of Tokyo, Japan, 2557.
  • MS (Environmental Management) Chulalongkorn University, 2553
  • วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551

 

1.3 ตำแหน่งทางวิชาการ

  • อาจารย์, ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2558-ปัจจุบัน

 

1.4 วิชาที่สอน

  • การจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental System Management)
  • วิศวกรรมชลศาสตร์(Hydraulic Engineering)
  • การจัดการน้ำแบบบูรณาการ (Integrated Water Resource Management)
  • สถิติสำหรับวิศวกรรมแวดล้อมและแหล่งน้ำ (Statistical Methods for Environment and Water Resources)

 

1.5 ประเภทใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

  • วิศวกรสิ่งแวดล้อม รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร(ภส /2561)

2.1 สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
  • การบำบัดน้ำเสียโรงงาน และน้ำเสียที่มีความเข้มข้นสูง

 

2.2 หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การบำบัดน้ำเสีย และการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
  • การผลิตพลังงานทดแทนจากบำบัดของเสีย

 

2.3 โครงการวิจัย

  • การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียแบบบูรณาการพลาสมาอุณหภูมิต่ำและถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบใช้แสงเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. ประเภท Fundamental Fund ประจำปีงบประมาณ 2566 (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • การศึกษาการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ย่อยสลายยากในแหล่งน้ำดิบเพื่อการผลิตน้ำประปา กรณีศึกษาสถานีสูบน้ำดิบสำแล กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. Full Proposal ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564  กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การพัฒนาระบบหมุนเวียนน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ด้วยการรวบรวมระบบไฟฟ้าเคมี เมมเบรนชีวภาพและรีเวิร์สออสโมสิส กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. Full Proposal ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564  กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การบำบัดธาตุอาหารพืชจากน้ำที่ผ่านการบำบัดเพื่อนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบใช้แสงในพื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) : งบประมาณด้าน ววน. Full Proposal ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564  กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ผู้ร่วมวิจัย)
  • ศักยภาพการกำจัดมลสารไมโครพลาสติกในกระบวนการโคแอกกูเลชั่นและฟล็อคคูเลชั่นในระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ ภายใต้ทุนวิจัยเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การวิจัยและส่งเสริมเทคโนโลยีการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ เงินงบประมาณแผ่นดิน : งบประมาณวิจัยจัดสรรตรงจากสำนักงบประมาณปี 2563 – 2564 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม  (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การพัฒนารูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่โดยใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรน สำหรับภาคชุมชนและเกษตรกรรม. เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การพัฒนารูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่โดยใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรน สำหรับภาคชุมชนและเกษตรกรรม. เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2561 (ผู้ร่วมวิจัย)
  • หน่วยวิจัยด้านนวัตกรรมที่ยั่งยืนในกรอบวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม ภายใต้กองทุนส่งเสริมและพัฒนาทุนวิจัย พ.ศ. 2560 สถาบันยุทธศาสตร์และการวิจัย มศว (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การพัฒนารูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่โดยใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบมีเมมเบรนสำหรับภาคชุมชนและเกษตรกรรม ภายใต้ทุนวิจัยเงินสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ผู้ร่วมวิจัย)
  • การศึกษาประสิทธิภาพการใช้ระบบถังหมักไร้อากาศสองขั้นตอนเพื่อการผลิตแก็สชีวภาพจากขยะย่อยสลายได้ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ภายใต้ทุนวิจัยเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (หัวหน้าโครงการ)
  • การประเมินศักยภาพการผลิตพลังงานทดแทนจากของเสียเศษอาหารในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (องครักษ์) ภายใต้ทุนวิจัยเงินรายได้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (หัวหน้าโครงการ)
  • Performance of Plasma Liquid Discharge for Post-Treatment of MBR Effluent from On-Site Landfill Leachate Treatment ภายใต้ทุนวิจัย KWEF-AIT Research Grant (KARG)  2017 (หัวหน้าโครงการ)


  • International Journal
    1. Ittisupornrat, S., Theepharaksapan, S., Krasaesueb, N., & Phetrak, A. (2023). Impact of saline valorization in contaminated municipal wastewater on the treatment performance and bacterial community dynamics of a membrane bioreactor. Journal of Chemical Technology & Biotechnology. vol. 98, no. 3, pp. 633-641, March 2023, https://doi.org/10.1002/jctb.7223.
    2. Khumvongsa, K., Guo, J., Theepharaksapan, S., Shirakawa, H., & Tanikawa, H. (2023). Uncovering urban transportation infrastructure expansion and sustainability challenges in Bangkok: Insights from a material stock perspective. Journal of Industrial Ecology. https://doi.org/10.1111/jiec.13342.
    3. Muenmee, S., Theepharaksapan, S., & Boonnorat, J. (2022). Effect of Food to Microbe (F/M) Ratio on Anaerobic Digestion of Refinery Waste Sludge under Mesophilic Conditions: Biogas Potential and Phytotoxicity. Current Applied Science and Technology, 22(1), 1–11.
    4. Matra, K., Tanakaran, Y., Luang-in, V., & Theepharaksapan, S. (2022). Enhancement of Lettuce Growth by PAW Spray Gliding Arc Plasma Generator. IEEE Transactions on Plasma Science (Early Access), vol. 50, no. 6, pp. 1430-1439, June 2022, doi: 10.1109/TPS.2021.3105733.
    5. Theepharaksapan, S., Ittisupornrat, S., Ketbubpha, K., Phattarapattamawong, S., & Boonnorat, J. (Eds.). (2021). Municipal wastewater treatment processes for sustainable development. In Integrated and Hybrid Process Technology for Water and Wastewater Treatment (1st ed., pp. 517–535). Elsevier Ltd.
    6. Theepharaksapan, S., Lerkmahalikhit, Y., Suwannapech, P., Boonnong, P., Limawatchanakarn, & M., Matra, K. (2021). Impact of Multi-Air Plasma Jets on Biological Nitrogen Variance in Effluent of Membrane Bioreactor Pilot-Plant. Engineering and Applied Science Research, 48(6), 732–739.
    7. Yimyam, K., Wongrueng, A., Rakruam, P., Nitayavardhana, S., Phetrak, A., Theepharaksapan, S., & Wattanachira, S. (2017). Reduction of DBP precursors and their THMFPs in leachate contaminated groundwater by PAC adsorption. Engineering Journal, 21(4), 12–23. https://doi.org/10.4186/ej.2017.21.4.11
    8. Boonyaroj, V., Chiemchaisri, C., Chiemchaisri, W., Theepharaksapan, S., & Yamamoto, K. (2012). Toxic organic micro-pollutants removal mechanisms in long-term operated membrane bioreactor treating municipal solid waste leachate. Bioresource Technology, 113, 174–180. https://doi.org/10.1016/j.biortech.2011.12.127
    9. Theepharaksapan, S., Chiemchaisri, C., Chiemchaisri, W., & Yamamoto, K. (2011). Removal of pollutants and reduction of bio-toxicity in a full scale chemical coagulation and reverse osmosis leachate treatment system. Bioresource Technology, 102(9), 5381–5388. ttps://doi.org/10.1016/j.biortech.2010.11.091

 

  • National Journal
    1. Datesuttikorn, P., Theepharaksapan, S., Ittisupornrat, S. (2021). Social Acceptance for Reclaimed Wastewater Use: A Case Study in Srinakharinwirot University Ongkharuk Campus. SWU Engineering Journal, 16(2), 56–67.
    2. Jaikaew, Piyanuch, Theepharaksapan, S. (2019). Development of solar powered boats for water quality monitoring. SWU Engineering Journal, 14(2), 91–97.
    3. Theepharaksapan, S., Settabutra, S. (2017). Computation Sediment Distribution in Reservoir Construction. SWU Engineering Journal, 12(1), 176–182.

 

  • International Conference
    1. Khanit Matra, Yottana Tanakaran, Vijitra Luang-In and Suthida Theepharaksapan, (2021) Enrichment of Hydroponic Farming by PAW Spray Gliding Arc Plasma Generator. 2nd International Conference on Advances in Plasma science and Technology (ICAPST) , 27 – 29 May 2021, Coibatre, India.
    2. Suthida THEEPHARAKSAPAN, Piyanuch JAIKAEW and Suda ITTISUPORNRAT (2019) Evaluations of Bacterial Communities and Composition in Reclaimed Effluent from Membrane Bioreactor System. The 8th International Conference on Environmental Engineering, Science and Management 23-24 May 2019, Bangkok, Thailand.
    3. Suthida THEEPHARAKSAPAN and Khanit MATRA (2018) The Influence of pH Adjustment on Removal of Refractory Organics from Biologically Treated Landfill Leachate with Atmospheric Argon Plasma. The 3rd Regional IWA Diffuse Pollution Conference "Innovation and Frontier Technology for Water Security and Scarcity" 19-22 November 2018, Chiang Mai, Thailand.
    4. Suthida Theepharaksapan and Suda Ittisupornrat (2018) Comparison of Bacterial Community Structure in Full-Scale MBRs Treating Different Type of Wastewater and Operations. The 2018 International Conference on the "Challenges in Environmental Science and Engineering" (CESE-2018) 4-8 November 2018, Bangkok, Thailand.
    5. Suthida THEEPHARAKSAPAN and Khanit MATRA (2018) Atmospheric Argon Plasma Jet for Post-Treatment of Biotreated Landfill Leachate. 6th International Electrical Engineering Congress (iEECON2018), 7 – 9 March 2018, Krabi, Thailand.
    6. Pimmanat PROMROD Suthida THEEPHARAKSAPAN Khanit MATRA, (2018) A Bench-Scale Assessment of Argon-Oxygen Plasma Treatment for Organic Pollutants Removal from Landfill Leachates. Water and Environment Technology Conference (WET-2018), 14-15 July 2018, Ehime, Japan.
    7. Khanit MATRA and Suthida THEEPHARAKSAPAN (2017) Atmospheric Non-Thermal Plasma for Post-Treatment of Landfill Leachate Treated with Membrane Bioreactor (MBR). 2nd International Symposium on Application of High-voltage, Plasmas & Micro/Nano Bubbles to Agriculture and Aquaculture Conference (ISHPMNB II 2017), 26 – 27 July 2017, Chiang Mai, Thailand.
    8. Suthida THEEPHARAKSAPAN, Tomohiro TOBINO, Fumiyuki NAKAJIMA, Kazuo YAMAMOTO, (2014) Estimation of Escherichia Coli Leakage Potential in Microfiltration based on Pore Size and Cell Size Distributions. Water and Environment Technology Conference (WET-2014), 28-29 June 2014, Tokyo, Japan.

 

  • National Conference
    1. Suthida, T., Yanika, L., & Pradthana, P. (2018, 18-20 July 2018). Energy Production Potential from the Anaerobic Digestion of Cafeteria Waste in Srinakharinwirot University (Ongkaruk) Paper presented at the In Proceedings of the 23th National Convention on Civil Engineering (NCCE23), Chulachomklao Royal Military Academy (CRMA), Nakhon Nayok, Thailand, 6 p.
    2. Piyanuch, J. and Suthida, T. (2018, 18-20 July 2018). Prototype of water collection and water quality monitoring boat of solar power Paper presented at the In Proceedings of the 23th National Convention on Civil Engineering (NCCE23), Chulachomklao Royal Military Academy (CRMA), Nakhon Nayok, Thailand, 9 p.

 

4.1 ความภาคภูมิใจ/รางวัลที่ได้รับ

  • พ.ศ. 2551 นักเรียนทุนของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย (Center of Excellence on Hazardous Substance Management) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2554 นักเรียนทุนรัฐบาลญี่ปุ่น  (Monbukagakusho Scholar: MEXT 2011) ในระดับปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมเมือง ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

 

4.2 รางวัลเกี่ยวกับงานวิจัย

  • รางวัลนำเสนอยอดเยี่ยม (The Best Presentation Award) ในการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ Water and Environment Technology Conference (WET-2014), 28-29 มิถุนายน 2557, โตเกียว, ญี่ปุ่น.
  • รางวัลเพื่อสนับสนุนงานวิจัย (KWEF-AIT research grant: KARG 2017) จากบริษัท Kurita Water and Environment Foundation (KWEF), 17 สิงหาคม 2560, ฮานอย, เวียดนาม.

พ.ศ. 2558

  • หลักสูตร ผู้นำการตรวจประเมิน และผู้ตรวจประเมิน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) IRCA Certified ISO 14001: 2015 Lead Auditor Training course
  • หลักสูตรการประเมินฟุตปริ้นท์น้ำ (Water Footprint) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

พ.ศ. 2559

  • หลักสูตร กฎหมายสิ่งแวดล้อมกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.)
  • หลักสูตรทนายความสิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 9 โดยสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์

พ.ศ. 2560

  • หลักสูตรทนายความสิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 9 โดยสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์

พ.ศ. 2561

  • หลักสูตรพัฒนาผู้เชี่ยวชาญอุตสากรรม รุ่นใหม่ เรื่อง “แนวทางการประเมินการปนเปื้อนน้ำใต้ดินบริเวณโรงงานอุตสาหกรรม”

พ.ศ. 2562

  • หลักสูตร Promoting Sustainable Protection and Restoration of Soil, Groundwater and Water Environment  ณ มหาวิทยาลัยเฉิงกุง เมืองไถหนาน ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ระหว่างวันที่ 17  – 24 มีนาคม พ.ศ. 2562
  • การทำวิจัยหลังปริญญาเอก ในหัวข้อเรื่อง Estimation of material stock in urban civil building for the prediction of waste generation in Bangkok ณ มหาวิทยาลัยนาโกย่า เมืองนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 21 กันยายน – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562